การปลูกอินทผลัม
คุณธัญญา กาญจนประดิษฐ์ หญิงแกร่งและเก่งของจังหวัดกาญจนบุรี มองเห็นถึงอนาคตตลาดอินทผลัมว่าผลตอบแทนต่อไร่น่าจะเป็นสินค้าที่มีราคา เธอจึงได้ปรับเปลี่ยนพื้นที่ทำเกษตรบางส่วนที่เคยทำนา แบ่งมาปลูกอินทผลัมเพื่อกระจายความเสี่ยงในเรื่องของการสร้างรายได้ จากการทดลองในครั้งนั้นถือว่าประสบผลสำเร็จดี ที่ได้ปรับเปลี่ยนที่นามาปลูกอินทผลัม “การปลูกอินทผลัมเราแบ่งการปลูกเป็น 2 ช่วงอายุ โดยแบ่งพื้นที่ปลูกรุ่นแรก 8 ไร่ กับรุ่นที่ 2 บนเนื้อที่ 7 ไร่ รวมพื้นที่ปลูกอินทผลัมทั้งหมด ประมาณ 15 ไร่ แบ่งจากพื้นที่นามาปลูก ส่วนที่อื่นก็ยังมีทำนาอยู่ด้วยควบคู่กันไป แทนที่จะปลูกข้าวอย่างเดียว ก็มาปลูกอินทผลัมเสริม เป็นการกระจายรายได้ให้ครบทุกด้าน เพราะไม่อยากทำพืชเชิงเดี่ยวเพียงอย่างเดียว” คุณธัญญา เล่าถึงจุดเริ่มต้นของการปลูกอินทผลัม สำหรับการปลูกและการเลือกซื้อสายพันธุ์อินทผลัมนั้น คุณธัญญา บอกว่า ช่วงแรกได้ศึกษาหาข้อมูลเรียนรู้จากแหล่งต่างๆ ทั้งจากการเดินทางไปศึกษาตามสวนที่ประสบผลสำเร็จ และจากสวนเพื่อนๆ ที่สนิทกัน จากนั้นเธอได้ข้อสรุปว่าจะเลือกอินทผลัมที่เป็นสายพันธุ์จากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเป็นหลัก ขั้นตอนการ
เมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม 2565 สำนักงานเกษตรจังหวัดสระบุรี นำโดย ดร.รุจีพัชร บุญจริง เกษตรจังหวัดสระบุรี กลุ่มยุทธศาสตร์และสารสนเทศ และกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกร จัดโครงการ สื่อมวลชนสัญจรเพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผลการดำเนินงานส่งเสริมการปลูก “อะโวคาโดและอินทผลัม ” เป็นพืชทางเลือก สร้างรายได้ของเกษตรกร และพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรของ อำเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี ดร.รุจีพัชร บุญจริง เกษตรจังหวัดสระบุรี กล่าวว่า สำนักงานเกษตรจังหวัดสระบุรี มีนโยบายส่งเสริมและสนับสนุนการปลูก “อะโวคาโดและอินทผลัม” เป็นพืชทางเลือกให้แก่เกษตรกร โดยให้องค์ความรู้เรื่องการผลิตพืชให้มีคุณภาพและได้มาตรฐาน GAP ส่งเสริมการใช้สารชีวภัณฑ์ การเลี้ยงแมลงศัตรูธรรมชาติ ในการป้องกันกำจัดโรคแมลงศัตรูพืช ประสานหาช่องทางการจำหน่ายผลผลิต ทั้งตลาดเกษตรกรจังหวัดสระบุรี Facebook ช่องทางการจำหน่ายออนไลน์ต่างๆ ตลอดจนส่งเสริมการยกระดับให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรในพื้นที่อำเภอมวกเหล็ก เพื่อเป็นการสร้างรายได้ให้แก่ครัวเรือน พัฒนาคุณภาพชีวิตของเกษตรกรให้ดียิ่งขึ้น อะโวคาโด เป็นผลไม้ขายดีเป็นที่นิยมในกลุ่มคนรักสุขภาพ เนื่
อินทผลัม เป็นพืชตระกูลปาล์ม มีหลากหลายสายพันธุ์ มีถิ่นกำเนิดในแถบตะวันออกกลาง โดยสามารถเจริญเติบโตได้ดีในภูมิภาคที่มีอากาศร้อนและแห้งแบบทะเลทราย ลำต้นมีความสูงประมาณ 30 เมตร โดยใบติดอยู่บนต้น 40-60 ก้าน ทางใบยาว 3-4 เมตร มีลักษณะเป็นแบบขนนก ใบย่อยพุ่งออกหลายทิศทาง ช่อดอกของอินทผลัมจะออกจากโคนใบ เมื่อติดผลลักษณะของผลเป็นรูปทรงรี ยาวประมาณ 2-4 เซนติเมตร มีรสหวานฉ่ำ สามารถรับประทานได้ทั้งผลสดและสุก ซึ่งผลจะมีสีเหลืองถึงสีส้มและเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลถึงสีน้ำตาลเข้มเมื่อแก่จัด โดยผลสุกจะนิยมนำไปตากแห้ง คุณปรีชา ธรรมชูเชาวรัตน์ อยู่บ้านเลขที่ 70 หมู่ที่ 2 ตำบลบางพลับ อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี เป็นผู้ที่เห็นถึงลักษณะพิเศษของอินทผลัม จึงได้นำมาทดลองปลูกภายในสวน จนประสบผลสำเร็จ จนทำให้ในเวลานี้ที่สวนของคุณปรีชามีผู้ที่สนใจได้เข้ามาเรียนรู้และหาซื้อต้นพันธุ์กันมากเลยทีเดียว คุณปรีชา เล่าให้ฟังว่า สมัยก่อนได้ทำการเกษตรหลายอย่าง ไม่ว่าจะเป็นเรื่องปศุสัตว์ คือ การเลี้ยงเป็ด ต่อมาจึงได้มาจับอาชีพเกี่ยวกับไม้ดอกไม้ประดับ เช่น เฟื่องฟ้า ลีลาวดี เรียกง่ายๆ ว่า ทำการเกษตรมาอย่างชำนาญในสายงานด้านนี้กันเล
อินทผลัม เป็นพืชตระกูลปาล์ม มีถิ่นกำเนิดในแถบตะวันออกกลาง โดยสามารถเจริญเติบโตได้ดีในภูมิภาคที่มีอากาศร้อนและแห้งแบบทะเลทราย ลำต้นมีความสูงประมาณ 30 เมตร โดยใบติดอยู่บนต้น 40-60 ก้าน ทางใบยาว 3-4 เมตร ลักษณะใบของอินทผลัมเป็นแบบขนนก ใบย่อยพุ่งออกหลายทิศทาง ช่อดอกจะออกจากโคนใบ เมื่อติดผลมีลักษณะเป็นรูปทรงรี ยาวประมาณ 2-4 เซนติเมตร มีรสหวานฉ่ำ สามารถรับประทานได้ทั้งผลสดและสุก ซึ่งผลมีสีเหลืองถึงสีส้ม และเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลถึงสีน้ำตาลเข้มเมื่อแก่จัด โดยผลสุกจะนิยมนำไปตากแห้ง จึงเป็นหนึ่งพืชที่น่าจับตามองในเรื่องของการทำตลาด คุณธัญญา กาญจนประดิษฐ์ อยู่บ้านเลขที่ 21/1 หมู่ที่ 1 ตำบลเขาสามสิบหาบ อำเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี เป็นเกษตรกรที่ได้มองเห็นถึงอนาคตของการทำตลาดอินทผลัมว่า เป็นสินค้าที่มีราคา โดยเธอได้แบ่งพื้นที่ทำนาบางส่วนมาปลูกอินทผลัมเพื่อเป็นการกระจายรายได้ เมื่อราคาข้าวตกต่ำก็ยังมีผลผลิตของอินทผลัมอยู่ แม้พื้นที่ปลูกจะเป็นดินที่ผ่านการทำนามาก่อน แต่ก็สามารถปลูกได้จนประสบผลสำเร็จ คุณธัญญา เล่าให้ฟังว่า เป็นคนที่ชอบรับประทานอินทผลัมมานานมากแล้ว แต่ด้วยพืชชนิดนี้ในเมืองไทยยังค่อนข้าง
อินทผลัม เป็นพืชตระกูลปาล์ม มีหลากหลายสายพันธุ์ มีถิ่นกำเนิดในแถบตะวันออกกลาง โดยสามารถเจริญเติบโตได้ดีในภูมิภาคที่มีอากาศร้อนและแห้งแบบทะเลทราย ลำต้นมีความสูงได้ถึงประมาณ 30 เมตร โดยใบติดอยู่บนต้น 40-60 ก้าน ทางใบยาว 3-4 เมตร มีลักษณะเป็นแบบขนนก ใบย่อยพุ่งออกหลายทิศทาง ช่อดอกของอินทผลัมจะออกจากโคนใบ เมื่อติดผลลักษณะของผลเป็นรูปทรงรี ยาวประมาณ 2-4 เซนติเมตร มีรสหวานฉ่ำ รับประทานได้ทั้งผลสดและสุก ซึ่งผลจะมีสีเหลืองถึงสีส้มและเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลถึงสีน้ำตาลเข้มเมื่อแก่จัด โดยผลสุกจะนิยมนำไปตากแห้ง อินทผลัมในบ้านเรากำลังเป็นพืชที่ได้รับความนิยมอยู่เช่นกัน แต่จะเน้นไปในเรื่องของการนำมารับประทานแบบผลสด โดยไม่ผ่านการตากแห้งแบบต่างประเทศ จึงทำให้ได้รับประทานอินทผลัมที่มีรสสัมผัสกรอบหวานอร่อย เป็นอีกหนึ่งผลผลิตทางการเกษตร ที่ใน 1 ปี จะได้รับประทานเพียงครั้งเดียว ส่งผลให้เป็นที่ต้องการของตลาด คุณปรีชา ธรรมชูเชาวรัตน์ เกษตรกรชาวจังหวัดนนทบุรี เป็นผู้ที่เห็นถึงลักษณะพิเศษของอินทผลัม จึงได้นำมาทดลองปลูกภายในสวน จนประสบผลสำเร็จ ทำให้ในเวลานี้ที่สวนของคุณปรีชามีผลผลิตอินทผลัมเพื่อตอบสนองต่อความต้องกา
อินทผลัม เป็นไม้ผลเศรษฐกิจตัวใหม่ที่กำลังได้รับความนิยมอย่างกว้างขวาง เนื่องจากอินทผลัมเป็นพันธุ์พืชต่างถิ่นจากต่างประเทศ แม้จะนำพันธุ์มาปลูกในไทยได้หลายปี แต่ยังถือเป็นพันธุ์ใหม่สำหรับคนไทย ดังนั้น หากใครสนใจที่จะปลูกไม้ผลชนิดนี้ ก็จำเป็นต้องใช้เวลาศึกษาเรียนรู้เพื่อเข้าใจธรรมชาติของไม้ผลชนิดนี้อย่างถูกต้องและเหมาะสม คุณชัยอารีย์ วงศ์หาญ (เบอร์โทร./ไลน์ 082-198-2255) เจ้าของกิจการ “บ้านสวนอำพันธ์อินทผลัม” จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และเป็นประธานชมรมศูนย์ส่งเสริมปลูกอินทผลัม ภาคกลาง ได้พาผู้เขียนแวะไปเยี่ยมชม “อินทผลัมสวนพูนทวี” อำเภอผักไห่ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ซึ่งเป็นกิจการร่วมทุนของ คุณสุภารวี ฐานจารุกาญจน์ และ คุณปาริชาติ ชาลีเครือ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชัยภูมิ ซึ่งปัจจุบันรับตำแหน่งที่ปรึกษา ฝ่ายยุทธศาสตร์ องค์การบริหารส่วนจังหวัดชัยภูมิ คุณชัยอารีย์ หรือที่หลายคนรู้จักในชื่อ “บังรี” รับหน้าที่เป็นที่ปรึกษาเรื่องการปลูกดูแลต้นอินทผลัมให้กับสวนพูนทวีมานานหลายปีแล้ว บังรี เล่าว่า สวนพูนทวีนำเข้าอินทผลัมสายพันธุ์แท้จากอาบูดาบี ซึ่งเป็นเมืองหลวงของสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (ดูไบ) ม
คุณสมภพ ลุนาบุตร เจ้าของ “สวนรวมใจ” บ้านเลขที่ 53 หมู่ที่ 9 บ้านน้อยพัฒนา ตำบลดงครั่งใหญ่ อำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด โทร. (087) 248-2928 เล่าให้ฟังว่า ตนเองเป็นลูกจ้าง ได้ทำงานรับจ้างบริษัทมาหลายที่ แต่ด้วยชอบการทำการเกษตรก็เกิดสนใจการปลูกอินทผลัมขึ้นมา ด้วยเป็นพืชใหม่ที่กำลังได้รับความสนใจมากชนิดหนึ่งและปลูกได้ผลในบ้านเราช่วงที่ผ่านมา ได้อ่านและเห็นตัวอย่างเกษตรกรท่านอื่นปลูกและได้ผลจริง จึงมีความสนใจมากขึ้นในเรื่องอินทผลัม ประกอบกับพื้นที่ทุ่งกุลาร้องไห้ ที่ตั้งใจไว้ทำสวน ขึ้นชื่อว่าดินมีสภาพแห้งแล้ง ขาดแคลนน้ำ ดินเป็นทราย ฟ้าฝนไม่ตกต้องตามฤดูกาล อากาศลมพัดผ่าน ดินแดนที่ไม่มีต้นไม้ ไม่มีป่าไม้ ที่ใครต่อใครกล่าวเล่าขานตำนานพื้นที่แห่งนี้ว่าแห้งแล้ง คุณสมภพ จึงปลูกพืชทะเลทรายอย่างอินทผลัม เปลี่ยนจากนาข้าวมาทดลองปลูกอินทผลัมท่ามกลางว่าจะไปรอดหรือไม่ กับพืชตัวใหม่ในทุ่งกุลาร้องไห้แห่งนี้ คุณสมภพ จึงอยากลองเปลี่ยนไปปลูกพืชชนิดอื่นๆ บ้าง และมีพี่น้องในเขตพื้นที่นี้บางรายก็หันไปปลูกยางพารากันบ้างแล้ว ผมก็เลยอยากปลูกอะไรที่แตกต่างออกไป คุณสมภพเริ่มต้นเล่า มีช่วง ปี 2548 ผมได้ดูข่าวสวนอิ
ระหว่างเดือนกรกฎาคมถึงเดือนกันยายน เป็นช่วงเวลาที่อินทผลัมผลสดให้ผลผลิตมากที่สุด บางปีอาจจะเหลื่อมระยะเวลาไปบ้าง แต่ก็ไม่เร็วหรือช้าไปกว่านี้ และจำนวนผลผลิตอินทผลัมผลสดที่ได้แต่ละปี อาจแปรผันมากน้อยขึ้นกับสภาพอากาศ กลุ่มอินทผลัมภาคตะวันตก หรือ Western Date Palm Group (WDP) เป็นกลุ่มที่เริ่มจากเกษตรกรจำนวนหนึ่งในแถบภาคตะวันตก ที่ปลูกอินทผลัมจากต้นเพาะเนื้อเยื่อ แรกเริ่มมีเพียงเกษตรกรในพื้นที่ภาคตะวันตก แต่เมื่อการบริหารจัดการภายในกลุ่มมีประสิทธิภาพ ทำให้เกษตรกรที่สนใจปลูกอินทผลัมภาคอื่นๆ ให้ความสนใจ จึงเปิดกว้างรับสมาชิกผู้ปลูกอินทผลัมเพาะเนื้อเยื่อทั่วประเทศ มีสมาชิกจากหลายภาคหลายจังหวัด อาทิ เชียงใหม่ เชียงราย ลำปาง พะเยา อุบลราชธานี อุดรธานี เป็นต้น ยกเว้นภาคใต้ที่แม้จะสมัครเป็นสมาชิกแล้ว แต่ไม่สามารถปลูกอินทผลัมได้ เนื่องจากสภาพอากาศไม่เหมาะสม จึงเป็นสมาชิกในรูปแบบของตัวแทนจำหน่ายผลิตภัณฑ์แปรรูปของกลุ่ม รวมสมาชิกจากทั่วประเทศ ทั้งหมด 150 ราย พื้นที่ปลูกอินทผลัมทั้งสิ้น ประมาณ 2,000 ไร่ จำนวน 55,000-60,000 ต้น เป็นจำนวนต้นที่ให้ผลผลิตแล้วเพียง 30 เปอร์เซ็นต์ ประมาณ 200 ตัน ใกล้เคียงก
พูดถึง อินทผลัม หลายคนคงคิดถึงแบบอบแห้งกันใช่ไหม แต่จริงๆ แล้ว ยังมีอินทผลัมแบบกินผลสด ในบ้านเราเริ่มเป็นที่รู้จักมากขึ้นทั้งคนปลูกและคนกิน คุณปรีชา ธรรมชูเชาวรัตน์ อยู่บ้านเลขที่ 70 หมู่ที่ 2 ตำบลบางพลับ อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี ที่ผ่านมาปลูกโป๊ยเซียน เฟื่องฟ้า ลีลาวดี ชวนชม และไม้ประดับอื่นๆ ในพื้นที่ 100 ไร่ หลังจากนั้นก็มาปลูกอินทผลัมทั้งแบบการเพาะเมล็ดและปลูกแบบต้นที่ได้จากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ปัจจุบัน ได้ผลดี คือปลูกจากต้นที่ขยายพันธุ์จากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ “พันธุ์ที่ทางสวนปลูกคือ พันธุ์บาร์ฮี (เนื้อเยื่อ) เพราะให้ผลที่แน่นอน ตอนแรกที่สวนก็ปลูกแบบเพาะเมล็ดด้วย แต่ว่าขุดทิ้งออกหมดแล้ว เพราะว่าให้ผลผลิตไม่แน่นอน ตอนนี้ที่สวนมีพันธุ์บาร์ฮี ปลูกอยู่เป็นหลักร้อย ประมาณ 500 ต้น อายุต้นอยู่ประมาณ 2-3 ปี ต้นหนึ่งสามารถออกผลได้ตั้งแต่ 2 ปีหลังจากปลูกแล้ว เพราะว่าสภาพดินที่สวนเป็นดินเหนียวค่อนข้างจะอุดมสมบูรณ์ ส่วนราคาขายผลผลิตจะเป็นกิโลกรัมละ 500 บาท ถ้าปลูกทุเรียนก็จะดี แต่ถ้าปลูกอินทผลัมก็จะดียิ่งกว่า เพราะว่าดินที่นี่สมบูรณ์มากกว่าที่อื่น” คุณปรีชา บอก คุณปรีชา บอกว่า ราคาต้
อินทผลัม เป็นพืชตระกูลปาล์ม มีถิ่นกำเนิดในแถบตะวันออกกลาง โดยสามารถเจริญเติบโตได้ดีในภูมิภาคที่มีอากาศร้อนและแห้งแบบทะเลทราย ลำต้นมีความสูงประมาณ 30 เมตร มีใบติดอยู่บนต้น 40-60 ก้าน ทางใบยาว 3-4 เมตร ลักษณะใบของอินทผลัมเป็นแบบขนนก ใบย่อยพุ่งออกหลายทิศทาง ช่อดอกจะออกจากโคนใบ เมื่อติดผลมีลักษณะเป็นรูปทรงรี ยาวประมาณ 2-4 เซนติเมตร มีรสหวานฉ่ำ รับประทานได้ทั้งผลสดและสุก ซึ่งผลมีสีเหลืองถึงสีส้มและเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลถึงสีน้ำตาลเข้มเมื่อแก่จัด โดยผลสุกจะนิยมนำไปตากแห้ง จึงเป็นหนึ่งพืชที่น่าจับตามองในเรื่องของการทำตลาด ปัจจุบัน ในบ้านเรามีเกษตรกรหลายพื้นที่ปลูกกันมากขึ้น เกิดผลผลิตที่มีคุณภาพ นำมาจำหน่ายเป็นสินค้าคุณภาพตามฤดูกาล สร้างรายได้ดีไม่น้อยทีเดียว คุณธัญญา กาญจนประดิษฐ์ เป็นเกษตรกรชาวกาญจนบุรี ที่ได้มองเห็นถึงอนาคตการทำตลาดของอินทผลัมว่าเป็นสินค้าที่มีราคา เธอจึงแบ่งพื้นที่ทำนาบางส่วนมาปลูกอินทผลัมเพื่อเป็นการกระจายรายได้ เมื่อราคาข้าวตกต่ำก็ยังมีผลผลิตของอินทผลัมอยู่ แม้พื้นที่ปลูกจะเป็นดินที่ผ่านการทำนามาก่อน แต่ก็สามารถปลูกจนประสบผลสำเร็จ คุณธัญญา เล่าว่า เป็นคนที่ชอบรับประทานอินท