กุยช่าย
กุยช่าย พืชมากประโยชน์ ช่วยเกษตรกรสร้างรายได้สามเด้ง ด้วยเหตุผลที่ลงทุนปลูกเพียงครั้งเดียว เก็บเกี่ยวได้นานกว่าผักใบชนิดอื่นๆ และยังสามารถช่วยให้เกษตรกรมีรายได้เป็นรายวัน รายสัปดาห์ และรายเดือน เก็บขายได้ทั้งดอก ใบ หรือแม้กระทั่งเมื่อต้นโทรมยังสามารถนำมาทำกุยช่ายขาว เก็บขายแบบสร้างรายได้ไม่รู้จบอีกด้วย คุณบัญชา หนูเล็ก เกษตรกรผู้ปลูกกุยช่ายจังหวัดราชบุรี อยู่บ้านเลขที่ 9/5 หมู่ที่ 7 ตำบลบางแพ อำเภอบางแพ จังหวัดราชบุรี เล่าว่า ตนเองประกอบอาชีพเป็นเกษตรกรมานานกว่า 20 ปี มีการปลูกพืชล้มลุก ผักกินใบ คะน้า ต้นหอม กวางตุ้ง ขึ้นฉ่าย มาก่อน แต่เมื่อปี 2542 มีการปรับเปลี่ยนชนิดผักที่ปลูก จากคะน้า กวางตุ้ง มาปลูกกุยช่ายเป็นพืชหลัก สร้างรายได้แทน ด้วยเหตุผลที่ว่า กุยช่าย เป็นพืชที่คุ้มค่าแก่การลงทุน ปลูกครั้งเดียวเก็บเกี่ยวได้นาน ถ้าดูแลบริหารจัดการแปลงปลูกดี สามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตต่อไปได้อีกนาน ไม่ต้องเสียเวลาไถดินเตรียมหยอดเมล็ดใหม่บ่อยๆ เหมือนผักใบอีกหลายชนิด กุยช่าย พืชราคาดี ปลูกไม่ยาก เก็บขายได้ทั้งดอก ใบ และทำกุยช่ายขาวขายได้อีก คุณบัญชา เริ่มปลูกกุยช่ายเป็นอาชีพสร้างรายได้มาตั้งแต่ ปี 254
ในบรรดาผักเชื้อสายจีน ที่เข้ามาแพร่หลายในไทย เดิมทีมี 16 ชนิด พวกตระกูล กะหล่ำ คะน้า ผักกาด ต้นหอม ผักชี กระเทียมใบ ตั้งโอ๋ ผักโขมจีน และก็มี “กุยช่าย” ที่เข้ามาแพร่หลายนานมาก ทั้งดอก ต้น ใบ เป็นที่นิยม พัฒนาการให้ผลผลิตออกมาเป็น กุยช่ายขาว ผัดเต้าหู้น้ำมันหอย หรือซีอิ๊วเปล่าๆ รสชาติเยี่ยมมาก คอข้าวต้มยามดึกชอบกันนัก ร่วมกับข้าวต้มแบน น้ำสีอำพัน เราเพื่อนกันตลอดไป ผักกุยช่าย ต้นกุยช่าย ใบกุยช่าย หรือที่รู้จักกัน ชื่อสามัญ Chinese Chive หรือ Garlic Chives ชื่อวิทยาศาสตร์ Allium tuberosum Rotter ex Spreng อยู่ในวงศ์ AMARYLLIDACEAE วงศ์ย่อย ALLIACEAE พี่น้องเชื้อสายเดียวกับกระเทียมนั่นเอง มี 2 ชนิด คือ กุยช่ายเขียว และ กุยช่ายขาว ลักษณะต่างกันที่สีต้นใบ เนื่องมาจากการดัดแปลงกรรมวิธีการปลูก ส่วนลักษณะอื่นๆ ก็คือ กุยช่าย เหมือนกันทุกอย่าง รสชาติกุยช่าย เผ็ดร้อน มีกลิ่นหอมฉุน มีชื่อเรียกตามท้องถิ่นต่างๆ จีนแต้จิ๋วเรียก กูไฉ่ คนไทยภาคเหนือเรียก ผักแป้น ภาคกลางเรียก ผักไม้กวาด มีปลูกกันแพร่หลายในแถบเอเชียตะวันออก จีน ญี่ปุ่น ไต้หวัน และแถบหิมาลัย อินเดีย เข้ามาปลูกในไทยนานแล้ว คาดว่าเข้ามาตั้ง
ในบรรดาผักเชื้อสายจีน ที่เข้ามาแพร่หลายในไทย เดิมทีมี 16 ชนิด พวกตระกูล กะหล่ำ คะน้า ผักกาด ต้นหอม ผักชี กระเทียมใบ ตั้งโอ๋ ผักโขมจีน และก็มี “กุยช่าย” ที่เข้ามาแพร่หลายนานมาก ทั้งดอก ต้น ใบ เป็นที่นิยม พัฒนาการให้ผลผลิตออกมาเป็น กุยช่ายขาว ผัดเต้าหู้น้ำมันหอย หรือซีอิ๊วเปล่าๆ รสชาติเยี่ยมมาก คอข้าวต้มยามดึกชอบกันนัก ร่วมกับข้าวต้มแบน น้ำสีอำพัน เราเพื่อนกันตลอดไป ผักกุยช่าย ต้นกุยช่าย ใบกุยช่าย หรือที่รู้จักกัน ชื่อสามัญ Chinese Chive หรือ Garlic Chives ชื่อวิทยาศาสตร์ Allium tuberosum Rotter ex Spreng อยู่ในวงศ์ AMARYLLIDACEAE วงศ์ย่อย ALLIACEAE พี่น้องเชื้อสายเดียวกับกระเทียมนั่นเอง มี 2 ชนิด คือ กุยช่ายเขียว และ กุยช่ายขาว ลักษณะต่างกันที่สีต้นใบ เนื่องมาจากการดัดแปลงกรรมวิธีการปลูก ส่วนลักษณะอื่นๆ ก็คือ กุยช่าย เหมือนกันทุกอย่าง รสชาติกุยช่าย เผ็ดร้อน มีกลิ่นหอมฉุน มีชื่อเรียกตามท้องถิ่นต่างๆ จีนแต้จิ๋วเรียก กูไฉ่ คนไทยภาคเหนือเรียก ผักแป้น ภาคกลางเรียก ผักไม้กวาด มีปลูกกันแพร่หลายในแถบเอเชียตะวันออก จีน ญี่ปุ่น ไต้หวัน และแถบหิมาลัย อินเดีย เข้ามาปลูกในไทยนานแล้ว คาดว่าเข้ามาตั้ง
หอมแป้น เป็นผักชนิดหนึ่งที่คนทางภาคเหนือใช้เรียกผักที่คล้ายต้นหอม มีใบเรียวยาว แต่ใบแบน บาง เป็นการเรียกตามลักษณะของมันที่แบน บาง เช่น ไม้แป้น หมายถึง ไม้กระดานเป็นแผ่นบาง หอมแป้น จึงหมายถึง กุยช่าย ที่คนเมืองเหนือเคยชินกับการเรียก หอมแป้น มากกว่าเรียก กุยช่าย ถึงแม้จะไม่เป็นที่นิยมบริโภคกันมากนักก็ตาม ส่วน ขนมกุยช่าย จะไม่เรียกว่า ขนมหอมแป้น กุยช่าย พืชผักที่มีกลิ่นฉุน มีคุณประโยชน์ต่อร่างกายสูงด้วยสรรพคุณทางยาหลายด้าน กุยช่ายนำมาประกอบอาหารได้ไม่กี่อย่าง กุยช่ายเป็นที่ต้องการของตลาดมาตลอด แม้บางช่วงราคาจะไม่สูงเหมือนผักอื่นก็ตาม มักนำกุยช่ายผัดกับเต้าหู้ ใส่กับผัดไทย และขนมกุยช่าย การนำกุยช่ายมาประกอบอาหารอยู่ในวงจำกัด การปลูกกุยช่ายมักปลูกร่วมกับผักชนิดอื่น แหล่งปลูกกุยช่ายอยู่ที่ราชบุรี นครปฐม ในบางพื้นที่ปลูกแต่กุยช่ายเพียงชนิดเดียวเป็นแปลงใหญ่ การปลูกกุยช่ายเป็นการลงทุนลงแรงเพียงครั้งแรกอยู่ได้นานหลายปี เป็นพืชผักอายุยืน ต่างจากผักชนิดอื่นอยู่ได้เพียงฤดูเดียว หลังจากปลูกกุยช่ายแล้วการดูแลรักษามีให้ทำน้อย ให้ผลผลิตได้เร็ว เก็บเกี่ยวได้ตลอดปี การเก็บเกี่ยวใช้เวลาน้อยไม่เปลืองแรงงาน
ในบรรดาผักเชื้อสายจีน ที่เข้ามาแพร่หลายในไทย เดิมทีมี 16 ชนิด พวกตระกูล กะหล่ำ คะน้า ผักกาด ต้นหอม ผักชี กระเทียมใบ ตั้งโอ๋ ผักโขมจีน และก็มี “กุยช่าย” ที่เข้ามาแพร่หลายนานมาก ทั้งดอก ต้น ใบ เป็นที่นิยม พัฒนาการให้ผลผลิตออกมาเป็น กุยช่ายขาว ผัดเต้าหู้น้ำมันหอย หรือซีอิ๊วเปล่าๆ รสชาติเยี่ยมมาก คอข้าวต้มยามดึกชอบกันนัก ร่วมกับข้าวต้มแบน น้ำสีอำพัน เราเพื่อนกันตลอดไป ผักกุยช่าย ต้นกุยช่าย ใบกุยช่าย หรือที่รู้จักกัน ชื่อสามัญ Chinese Chive หรือ Garlic Chives ชื่อวิทยาศาสตร์ Allium tuberosum Rotter ex Spreng อยู่ในวงศ์ AMARYLLIDACEAE วงศ์ย่อย ALLIACEAE พี่น้องเชื้อสายเดียวกับกระเทียมนั่นเอง มี 2 ชนิด คือ กุยช่ายเขียว และ กุยช่ายขาว ลักษณะต่างกันที่สีต้นใบ เนื่องมาจากการดัดแปลงกรรมวิธีการปลูก ส่วนลักษณะอื่นๆ ก็คือ กุยช่าย เหมือนกันทุกอย่าง รสชาติกุยช่าย เผ็ดร้อน มีกลิ่นหอมฉุน มีชื่อเรียกตามท้องถิ่นต่างๆ จีนแต้จิ๋วเรียก กูไฉ่ คนไทยภาคเหนือเรียก ผักแป้น ภาคกลางเรียก ผักไม้กวาด มีปลูกกันแพร่หลายในแถบเอเชียตะวันออก จีน ญี่ปุ่น ไต้หวัน และแถบหิมาลัย อินเดีย เข้ามาปลูกในไทยนานแล้ว คาดว่าเข้ามาตั้ง