ข่าแดง
“ข่าแดง” หรือ ข่าอ่อน เป็นพืชสมุนไพรที่กำลังได้รับความนิยมสูงในการนำมาเป็นส่วนประกอบหลายเมนูอาหาร อีกทั้งเป็นพืชที่ทนแล้ง ต้านทานโรคได้ดี ปลูกและดูแลง่าย สรรพคุณมากมายโดยเฉพาะด้านสุขภาพ จึงเป็นที่ต้องการของตลาดสูง การยึดอาชีพปลูกข่าแดงของชาวบ้านที่บ้านเกษตรสมบูรณ์ ตำบลห้วยขะยุง อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี ทำกันมายาวนานกว่า 30 ปี เพราะข่าแดงเป็นพืชที่ปลูกง่าย ดูแลง่าย ไม่จำเป็นต้องใช้พื้นที่ปลูกมาก เป็นพืชที่ช่วยกันในครัวเรือน ลงทุนน้อย ปลูกแล้วเก็บผลผลิตได้นานเป็น 10 ปี ที่สำคัญมีรายได้ทุกวัน จึงเป็นพืชที่ชาวบ้านไม่ง้อรายได้จากการปลูกข้าว ฉะนั้น เกือบทั้งหมู่บ้านหันมาปลูกข่าแดงสร้างรายได้ อีกทั้งยังสร้างมูลค่าด้วยการปลูกข่าแบบอินทรีย์จนได้ใบรับรองมาตรฐาน จึงเป็นที่ต้องการของลูกค้าหลายพื้นที่ทั่วประเทศและจากที่เคยเป็นรายได้เสริมเมื่อก่อน จึงกลายเป็นรายได้หลักในวันนี้ กระทั่งทำให้ทุกครอบครัวในตำบลห้วยขะยุงที่ปลูกข่าแดงขายมีความเป็นอยู่อย่างสุขสบายไม่เดือดร้อนเรื่องเงิน คุณนวนศรี พรมมากอง อยู่บ้านเลขที่ 83 หมู่ที่ 13 บ้านเกษตรสมบูรณ์ ตำบลห้วยขะยุง อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี
“ข่าแดง” หรือ ข่าอ่อน เป็นพืชสมุนไพรที่กำลังได้รับความนิยมสูงในการนำมาเป็นส่วนประกอบหลายเมนูอาหาร อีกทั้งเป็นพืชที่ทนแล้ง ต้านทานโรคได้ดี ปลูกและดูแลง่าย สรรพคุณมากมายโดยเฉพาะด้านสุขภาพ จึงเป็นที่ต้องการของตลาดสูง การยึดอาชีพปลูกข่าแดงของชาวบ้านที่บ้านเกษตรสมบูรณ์ ตำบลห้วยขะยุง อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี ทำกันมายาวนานกว่า 30 ปี เพราะข่าแดงเป็นพืชที่ปลูกง่าย ดูแลง่าย ไม่จำเป็นต้องใช้พื้นที่ปลูกมาก เป็นพืชที่ช่วยกันในครัวเรือน ลงทุนน้อย ปลูกแล้วเก็บผลผลิตได้นานเป็น 10 ปี ที่สำคัญมีรายได้ทุกวัน จึงเป็นพืชที่ชาวบ้านไม่ง้อรายได้จากการปลูกข้าว ฉะนั้น เกือบทั้งหมู่บ้านหันมาปลูกข่าแดงสร้างรายได้ อีกทั้งยังสร้างมูลค่าด้วยการปลูกข่าแบบอินทรีย์จนได้ใบรับรองมาตรฐาน จึงเป็นที่ต้องการของลูกค้าหลายพื้นที่ทั่วประเทศและจากที่เคยเป็นรายได้เสริมเมื่อก่อน จึงกลายเป็นรายได้หลักในวันนี้ กระทั่งทำให้ทุกครอบครัวในตำบลห้วยขะยุงที่ปลูกข่าแดงขายมีความเป็นอยู่อย่างสุขสบายไม่เดือดร้อนเรื่องเงิน คุณนวนศรี พรมมากอง อยู่บ้านเลขที่ 83 หมู่ที่ 13 บ้านเกษตรสมบูรณ์ ตำบลห้วยขะยุง อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี
นางอัญชนา ตราโช รองเลขาธิการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยว่า สินค้าเกษตรสำคัญที่มีมูลค่าทางเศรษฐกิจสูงสุด (Top 4) ของจังหวัดอ่างทอง ได้แก่ ข้าวนาปี ข้าวนาปรัง ไข่ไก่ และมะม่วงน้ำดอกไม้ โดยเกษตรกร ได้ผลตอบแทนสุทธิ (กำไร) จากการผลิตข้าวนาปี ในพื้นที่มีความเหมาะสมมากและเหมาะสมปานกลาง (S1/S2) เฉลี่ย 1,050 บาท/ไร่ ส่วนพื้นที่มีความเหมาะสมน้อยและไม่เหมาะสม (S3/N) เกษตรกรได้ผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ย 604 บาท/ไร่ ข้าวนาปรัง พื้นที่ S1/S2 เกษตรกรได้ผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ย 1,252 บาท/ไร่ ส่วนพื้นที่ S3/N เฉลี่ย 934 บาท/ไร่ มะม่วงน้ำดอกไม้ ซึ่งไม่มีการจำแนกพื้นที่เหมาะสมและไม่เหมาะสม เกษตรกรได้ผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ย 6,508 บาท/ไร่ และ ไข่ไก่ ได้ผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ย 0.07 บาท/ฟอง หากพิจารณาเฉพาะพื้นที่ปลูกข้าวของจังหวัดอ่างทอง พบว่า พื้นที่ S1/S2 สำหรับปลูกข้าวมีจำนวน 366,388 ไร่ และพื้นที่ S3/N มีเพียงจำนวน 13,859 ไร่ โดยพื้นที่ไม่เหมาะสมบางส่วนเกษตรกรสามารถปรับเปลี่ยนการผลิตและพัฒนาสินค้าให้มีคุณภาพเพื่อเพิ่มมูลค่าอย่างหลากหลาย ได้แก่ การปลูกผักต่างๆ เช่น ตะไคร้ มีต้นทุนการผลิต 22