ความหลากหลายทางชีวภาพ
งานประชุมวิชาการด้านความหลากหลายทางชีวภาพและเศรษฐกิจชีวภาพ “Biodiversity Bioeconomy” ภายในงานมหกรรมทรัพยากรชีวภาพและการสร้างโอกาสทางการตลาด จัดโดย BEDO สำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน) หรือ BEDO กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จัดงานมหกรรมทรัพยากรชีวภาพและการสร้างโอกาสทางการตลาด โดยภายในงานมีการจัดงานประชุมวิชาการด้านความหลากหลายทางชีวภาพและเศรษฐกิจชีวภาพ “Biodiversity and Bioeconomy” ณ ห้องออดิทอเรียม โรงแรมเซ็นทรา บายเซ็นทารา ศูนย์ราชการและคอนเวนชันเซ็นเตอร์ แจ้งวัฒนะ กรุงเทพฯ งานประชุมวิชาการด้านความหลากหลายทางชีวภาพและเศรษฐกิจชีวภาพ “Biodiversity and Bioeconomy” ได้รับเกียรติจาก ดร. วิจารย์ สิมาฉายา ประธานกรรมการสำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ เป็นประธานเปิดการประชุม มีหัวข้อการประชุมที่น่าสนใจ ดังนี้ การบรรยายพิเศษหัวข้อที่ 1 “Biodiversity & Bioeconomy ในโรงเรียนและชุมชน ตามพระราชดำริสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี” โดย รองศาสตราจารย์ ดร.คุณหญิงสุมณฑา พรหมบุญ อธิการบดี วิทยาลัยเทคโนโลยีจิตรลดา โครงการตามพระราชดำริจำ
สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ให้การสนับสนุนทีมวิจัยจากมหาวิทยาลัยรามคำแหง ในการศึกษาวิจัยความหลากหลายทางชีวภาพ และการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จากการเปลี่ยนแปลงด้วยเหตุปัจจัยต่าง ๆ ที่ทำให้ส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศทั้งทางบกและทางทะเล จึงมีแผนในการพัฒนาอนุรักษ์และการใช้ทรัพยากรธรรมชาติที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดยบูรณาการความร่วมมือกับทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง สร้างองค์ความรู้ใหม่เพื่อศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพทั้งด้านพันธุกรรม ชนิดพันธุ์ และระบบนิเวศทั้งบนบกและทะเล เช่น ความหลากหลายทางชีวภาพของสัตว์ทะเลในชั้นดินตะกอนในระบบนิเวศแนวปะการังและชายหาด การใช้เชื้อเพลิงชีวภาพเพื่อส่งเสริมการใช้พลังงานสะอาดที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม รวมถึงการพัฒนาองค์ความรู้และขีดความสามารถในการจัดการประมง และการอนุรักษ์ทรัพยากรทางทะเล และชายฝั่ง ดร.วิภารัตน์ ดีอ่อง ผู้อำนวยการสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ กล่าวว่า วช. ภายใต้กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เป็นกลไกสำคัญของรัฐในการขับเคลื่อนให้การสนับสนุนงานวิจัย สิ่งประดิษฐ์คิดค้นหรือนวั
ไผ่ เป็นพืชที่อยู่คู่กับคนไทยและคนเอเชียมาตั้งแต่สมัยโบราณ อยู่ในวิถีชีวิตอย่างแยกกันไม่ออก ความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีที่ทันสมัย ก็ยังไม่สามารถแยกคนออกจากไผ่ได้ ความผูกพันที่ลึกซึ้ง ทำให้แผ่นดินอุดมสมบูรณ์ การใช้ประโยชน์จากไผ่มีอยู่ทุกวัน ทุกเวลา ทุกสถานที่ แม้แต่เพลงก็ยังฟังเสียงของ ไผ่ พงศธร…อ่ะนะครับ ในสมัยก่อนนิยมบริโภคหน่อไม้ แต่เป็นหน่อไม้จากป่ามากกว่า สมัยนี้ก็ยังนิยมบริโภคหน่อไม้ แต่จากป่าน้อยลง เรายังโชคดีที่มีคนสนใจปลูก จึงได้บริโภคหน่อไม้ที่มาจากหลากหลายชนิด หลากหลายรสชาติมีให้เลือกหลายสายพันธุ์ ต้องยอมรับว่าคนไทยเก่งมาก นอกจากคัดสายพันธุ์เก่งแล้ว ยังเปลี่ยนชื่อเก่งด้วย ภาคเหนือเรียกอย่าง กลาง อีสาน ใต้ ก็เรียกชื่ออีกอย่าง ทั้งๆ ที่เป็นไผ่ชนิดเดียวกัน แต่ก็แปลกนะครับ ไผ่ชนิดเดียวกันเมื่อนำไปปลูกอีกที่ กับมีลักษณะรูปร่างที่แตกต่างกันได้ เช่น เขตอากาศร้อนชื้น ต้นอวบใหญ่ กอใหญ่ อากาศร้อนแห้งแล้ง ต้นผอมเรียวเล็กสีลำออกเหลือง เขตอากาศหนาวเย็น แตกกอน้อย ลำสั้นอ้วน ตอบได้เพียง ขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อม ภูมิประเทศ ดิน ฟ้า อากาศ ครับ เราขอนำเอาบทความทางวิชาการออกเผยแพร่บ้าง เพื่อปร
“ซินเจนทา” จัดทำโครงการรักษ์ผึ้ง สร้างความรู้ระหว่างเกษตรกรชาวสวนและผู้เลี้ยงผึ้ง พร้อมสนับสนุนงานประชุม International Conference on Biodiversity 2019 งานประชุมวิชาการนานาชาติและนิทรรศการทางวิชาการด้านความหลากหลายทางชีวภาพ (International Conference on Biodiversity) จัดขึ้นระหว่างวันที่ 22 – 24 พฤษภาคม 2562 ณ เซนทาราแกรนด์ บางกอกคอนเวนชันเซนเตอร์ เซ็นทรัลเวิลด์ กรุงเทพมหานคร เพื่อนำเสนอผลงานและเทคโนโลยีด้านความหลากหลายทางชีวภาพ นำไปสู่การอนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากทรัพยากรชีวภาพอย่างยั่งยืน ภายใต้การสนับสนุนจาก บริษัท ซินเจนทา ประเทศไทย ผู้นำนวัตกรรมวิทยาศาสตร์ด้านเกษตรและอาหาร นางสาววัชรีภรณ์ พันธุ์ภูมิพฤกษ์ หมอพืชและผู้อำนวยการฝ่ายความยั่งยืนธุรกิจ ประเทศไทย ซินเจนทา เปิดเผยว่า “วิกฤตความหลากหลายทางชีวภาพในภูมิศาสตร์เขตร้อน กำลังเป็นที่สนใจไปทั่วโลก เนื่องด้วยเป็นเขตที่มีความอุดมสมบูรณ์ มีความหลากหลายทางชีวภาพสูง แต่ปัจจุบันเกิดการสูญเสีย จากปัจจัยต่างๆมากขึ้น เช่น จำนวนประชากรที่เพิ่มขึ้น การขยายตัวของชุมชน การใช้ปัจจัยทางการเกษตร โดยเฉพาะการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก ท
ซินเจนทา ตอกย้ำจุดยืนตามแนวคิดองค์การสหประชาชาติ เดินหน้าส่งเสริมเกษตรกรผลิตอาหารปลอดภัยป้อนประชากรโลก ควบคู่กับการดูแลรักษาโลก พร้อมทั้งประสานความร่วมมือกับทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องในการสร้างอุดมการณ์เดียวกัน นางสาววัชรีภรณ์ พันธุ์ภูมิพฤกษ์ หมอพืชและผู้อำนวยการฝ่ายความยั่งยืนธุรกิจ ประเทศไทย บริษัท ซินเจนทา ครอป โปรเทคชั่น จำกัด หรือ ซินเจนทา บริษัทชั้นนำนวัตกรรมวิทยาศาสตร์ด้านเกษตรและอาหาร เปิดเผยว่า ในปี 2562 บริษัทฯ วางแนวทางการดำเนินธุรกิจให้เกิดความยั่งยืน ด้วยการนำองค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์การเกษตร และเทคโนโลยีการอารักขาพืชส่งเสริมและสนับสนุนให้กับภาคการเกษตร เพื่อให้เกษตรกรมีการใช้ผลิตภัณฑ์อย่างถูกต้อง เหมาะสม เพิ่มผลผลิต ลดต้นทุน และช่วยรักษาสภาพแวดล้อมต่างๆ ให้ดีขึ้น อาทิ คุณภาพดินและน้ำ รวมถึงความหลากหลายทางชีวภาพ นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังได้เดินหน้าขับเคลื่อนแผนการเติบโตเชิงบวก (The Good Growth Plan) ที่ได้ดำเนินงานไปในปีที่ผ่านมา นำมาใช้ในการดำเนินธุรกิจเพื่อให้เกิดความยั่งยืนในปีนี้อีกด้วย สำหรับแผนการเติบโตเชิงบวก (The Good Growth Plan) ของซินเจนทา ประกอบด้วย 6 ด้าน ดังนี้ 1.