จามจุรี
มีการใช้ใบจามจุรี หรือ ฉำฉา สำหรับปลูกพืชมานานแล้ว ยุคก่อนโน้นที่โป๊ยเซียนได้รับความนิยม ใบจามจุรีมีราคาสูง บางช่วงถึงกับขาดตลาด ใบจามจุรี มีคุณค่าทางอาหารสำหรับพืชสูง โดยเฉพาะไนโตรเจน เพราะเป็นพืชตระกูลถั่ว การใช้ก็ไม่ยุ่งยาก นำมาผสมวัสดุปลูก หรือจะใส่ต้นไม้ทั่วไปก็ได้ อย่าง มะม่วง ขนุน นำใบเทกองไว้โคนต้น เวลาผ่านไป ใบค่อยๆ ย่อยสลาย ต้นไม้โตเร็วกว่าปกติ โดยทั่วไปแล้ว จามจุรีขึ้นตามที่รกร้าง ที่สาธารณะ เมื่อใบร่วงหล่น คนก็ไปกวาดใส่ถุงปุ๋ย นำออกมาจำหน่าย แหล่งใหญ่ของใบจามจุรี พบอยู่ที่จังหวัดสระบุรี ลพบุรี ในเขตภาคเหนือ จริงๆ แล้วเมื่อก่อนพบจามจุรีอยู่หนาแน่น แต่เพราะเขานิยมตัดโค่นไปแกะสลัก ประชากรของจามจุรีจึงลดลง คุณลุงชิน หรือ จ้อย และ คุณป้าวันทอง ศรีเนตร เป็นชาวตำบลหนองหว้า อำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา ประกอบอาชีพขยายพันธุ์ไม้ขายมานาน 30 ปีแล้ว เมื่อสมัยเป็นวัยรุ่นลุงจ้อยไปทำงานรับจ้างในค่ายทหารที่อู่ตะเภา จังหวัดชลบุรี วิชาที่ได้ติดตัวมาคือการทำอาหารฝรั่ง รวมทั้งอาหารสากลอื่นๆ จากนั้นลุงไปทำงานตะวันออกกลาง อยู่หลายประเทศ ทำหน้าที่เป็นพ่อครัวให้กับคนสำคัญของประเทศนั้นๆ เมื่อมีส
ผอ.เขตแจง ตัดต้นจามจุรีใหญ่ อายุ 50 ปี ขึ้นหลังป้ายรถเมล์ ริมถนนประชานิเวศน์ 1 เหตุมีผู้ร้อง รากกระทบโครงสร้างตึก หวั่นสร้างความเสียหาย เมื่อวันที่ 13 ส.ค. ผู้สื่อข่าวรายงานว่า จากกรณี เมื่อวันที่ 11 ส.ค. สำนักงานเขตจตุจักร ได้ส่งเจ้าหน้าที่ฝ่ายรักษาความสะอาดและดูแลสวนสาธารณะ เข้าทำการตัดต้นจามจุรีอายุกว่า 50 ปี เส้นรอบวง 312 ซ.ม. บริเวณป้ายรถประจำทาง หน้าอาคารพาณิชย์ เลขที่ 19/8 ถนนเทศบาลสงเคราะห์ แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กทม. (ถนนเส้นที่ผ่านวัดเสมียนนารีไปออกคลองประปา) เนื่องจากทางเจ้าของอาคารทำหนังสือขออนุญาตสำนักงานเขตจตุจักร ตัดโค่นออกเพราะระบบรากของต้นไม้ทำให้พื้นบ้านแตกเสียหาย เกรงว่าจะเกิดอันตรายต่อโครงสร้างของตัวอาคาร อ่านข่าว : โวยโค่นต้นจามจุรีอายุ 50 ปี จนท.เขตตัดเหลือแต่ตอ ชาวบ้านเสียดาย ล่าสุดนายศรีสุวรรณ จรรยา เลขาพิทักษ์รัฐธรรมนูญไทย ได้โพสต์เฟซบุ๊กว่า เตรียมนำเรื่องดังกล่าว ฟ้องต่อศาลปกครองกลาง ในวันอังคารที่ 14 ส.ค. เวลา 10.30 น. ณ ศาลปกครองกลาง ถนนแจ้งวัฒนะ เขตหลักสี่ กทม. พร้อมเรียกร้องให้ประชาชนชาวประชานิเวศน์ 1 ที่รักและหวงแหนต้นจามจุรีดังกล่าว หากเห็นว่าตนเองเป็นผู้
จามจุรีมีหลายชื่อ ภาคกลางเรียกก้ามกราม กรุงเทพฯและอุตรดิตถ์เรียกก้ามกุ้ง ตราดเรียกตุ๊ดตู่ ภาคเหนือเรียกลัง สำสา และสารสา กะเหรี่ยงแม่ฮ่องสอนเรียกเส่คุ จัดเป็นพืชในวงศ์ถั่ว เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ มีกิ่งก้านสาขามาก ใบมีขนาดเล็ก ดอกสีชมพู มีผลเป็นฝัก เมล็ดแข็ง ผลมีเนื้อสีชมพู รสหวานสัตว์เคี้ยวเอื้องชอบกินเป็นอาหาร จามจุรี เป็นพืชพื้นเมืองของเม็กซิโก บราซิล และเปรู จามจุรี เป็นไม้ประจำจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นพันธุ์ไม้พระราชทานเพื่อปลูกเป็นมงคลจังหวัดลำพูน หลังปลูกจามจุรีในสถานที่ราชการและริมถนนแล้ว เมล็ดของจามจุรี ได้แพร่กระจายไปตามที่รกร้างว่างเปล่า เนื่องจากเป็นต้นไม้ที่มีทรงพุ่มขนาดใหญ่ จามจุรีจึงคลุมไม้อื่น นานเข้าใต้ร่มเงาจึงโล่งเตียน ดูเด่นและแตกต่างจากไม้อื่นอย่างชัดเจน มีการใช้ประโยชน์จากจามจุรีมานานแล้ว ฮ่องกง ซื้อเนื้อไม้จามจุรีจากฟิลิปปินส์ จนกระทั่งหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ไม้ของฟิลิปปินส์ถูกสะเก็ดระเบิดคุณภาพไม่ดี ฮ่องกงได้หันมาซื้อไม้ของไทยแทน แต่ระยะหลังๆ ไทยมีความต้องการใช้ไม้จามจุรีมากขึ้น ในพื้นที่ภาคเหนือ มีสล่าแกะสลักหรือช่างแกะสลัก กระจายอยู่หลายจังหวัด ไม่ว่าจะเป็นเช
มีการใช้ใบจามจุรี หรือฉำฉา สำหรับปลูกพืชมานานแล้ว ยุคก่อนโน้นที่โป๊ยเซียนได้รับความนิยม ใบจามจุรีมีราคาสูง บางช่วงถึงกับขาดตลาด ใบจามจุรี มีคุณค่าทางอาหารสำหรับพืชสูง โดยเฉพาะไนโตรเจน เพราะเป็นพืชตระกูลถั่ว การใช้ก็ไม่ยุ่งยาก นำมาผสมวัสดุปลูก หรือจะใส่ต้นไม้ทั่วไปก็ได้ อย่าง มะม่วง ขนุน นำใบเทกองไว้โคนต้น เวลาผ่านไป ใบค่อยๆ ย่อยสลาย ต้นไม้โตเร็วกว่าปกติ โดยทั่วไปแล้ว จามจุรีขึ้นตามที่รกร้าง ที่สาธารณะ เมื่อใบร่วงหล่น คนก็ไปกวาดใส่ถุงปุ๋ย นำออกมาจำหน่าย แหล่งใหญ่ของใบจามจุรี พบอยู่ที่จังหวัดสระบุรี ลพบุรี ในเขตภาคเหนือ จริงๆ แล้วเมื่อก่อนพบจามจุรีอยู่หนาแน่น แต่เพราะเขานิยมตัดโค่นไปแกะสลัก ประชากรของจามจุรีจึงลดลง คุณลุงชิน หรือ จ้อย และ คุณป้าวันทอง ศรีเนตร เป็นชาวตำบลหนองหว้า อำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา ประกอบอาชีพขยายพันธุ์ไม้ขายมานาน 30 ปีแล้ว เมื่อสมัยเป็นวัยรุ่นลุงจ้อยไปทำงานรับจ้างในค่ายทหารที่อู่ตะเภา จังหวัดชลบุรี วิชาที่ได้ติดตัวมาคือการทำอาหารฝรั่ง รวมทั้งอาหารสากลอื่นๆ จากนั้นลุงไปทำงานตะวันออกก