ต้นอ่อนผักบุ้ง
ต้นอ่อนผักบุ้ง สามารถประกอบอาหารได้หลายเมนู อาทิ ผัดผักบุ้งน้ำมันหอย ผัดผักบุ้งไฟแดง ทำสลัดผัก หรือจะทำเมนูต้มจืด แล้วใส่ต้นอ่อนผักบุ้งด้วยก็ได้ วิธีการเพาะต้นอ่อนผักบุ้ง 1.เริ่มจาก ล้างเมล็ดผักบุ้งในน้ำสะอาดก่อนการนำเมล็ดผักบุ้งแช่ในน้ำ ประมาณ 12 ชั่วโมง เป็นอย่างน้อย 2.หลังจากนั้น เอาเมล็ดมาห่อผ้า เพื่อรักษาความชื้น คลุมผ้าไว้ประมาณ 12 ชั่วโมง เป็นอย่างน้อย เมล็ดจะเริ่มงอก 3.หลังจากนั้น เตรียมดินในตะกร้าสี่เหลี่ยม สูงประมาณ 4-5 นิ้ว เพื่อง่ายต่อการขนย้าย วางความหนาของดินไม่เกิน 1 นิ้ว และผสมมูลไส้เดือนลงไปด้วย เพื่อเป็นอาหารของพืช ส่วนดินที่ใช้เป็นดินขุยมะพร้าว ซึ่งจะมีส่วนผสมของดินน้อย 4.เมื่อเมล็ดผักบุ้งที่คลุมไว้ เริ่มมีรากงอกเล็กน้อย ให้นำเอาโปรยลงไปในตะกร้าที่เตรียมดินเอาไว้ เกลี่ยให้เต็มพื้นที่ โรยลงไปแค่พอเหมาะ 5.หลังจากนั้น ให้โรยขุยมะพร้าวกลบทับบางๆ อีกชั้น เพื่อช่วยกักเก็บความชื้น รดน้ำทุกวัน 6.ตะกร้าที่เพาะต้นอ่อนผักบุ้งต้องวางอยู่ในร่ม อากาศถ่ายเทสะดวก และต้องไม่วางตากแดด เนื่องจากเวลาวางตากแดดจะทำให้อัตรางอกน้อยลง 7.หลังจากนำเมล็ดลงตะกร้า ประมาณวันที่ 2-3 เมล็ด จะเริ่มง
เหตุผลประการหนึ่งที่ต้นอ่อน(SPROTS)เป็นอาหารที่มีคุณค่าก็คือต้นอ่อนเป็นอาหารที่ย่อยง่ายและให้พลังงานสูง เมล็ดพืชที่สามารถนำมาเพาะเป็นต้นอ่อนได้มีหลายชนิด ได้แก่ ตระกูลถั่ว (Beans) เป็นพืชที่อุดมไปด้วยโปรตีนและคาร์โบไฮเดรต แต่เมื่ออยู่ในรูปของต้นอ่อนกลับเป็นอาหารที่ไม่ได้ทำให้เกิดภาวะเป็นกรดในร่างกาย ทานตะวัน (Sunflower) ประกอบด้วยวิตามินบีและดีสูง นอกจากนี้ยังอุดมไปด้วยกรดอะมิโนจำเป็นหลายชนิด งา (Sesame seeds) เป็นแหล่งของแคลเซียม ธาตุเหล็ก ไนอะซิน โปรตีน และฟอสฟอรัส อัลฟาฟ่า (Alfalfa) เป็นแหล่งพืชที่นิยมนำมาเพาะเป็นต้นอ่อน เนื่องจากมีคลอโรฟิลล์จำนวนมาก วิตามินเอ วิตามินบีคอมเพลกซ์ ซี ดี อี จี เค นอกจากนี้ยังประกอยด้วยธาตุเหล็ก แคลเซียม ฟอสฟอรัสและซัลเฟอร์ปริมาณมาก ธัญพืช (Grains) ต้นอ่อนของข้าวสาลีอุดมไปด้วยสารอาหารนานาชนิด ได้แก่ วิตามินซี อี บีคอมเพลกซ์ แมกนีเซียม แคลเซียม ฟอสฟอรัส โซเดียม โพทัสเซียม โปรตีน เอนไซม์ และ คลอโรฟิลล์ ต้นอ่อนจัดเป็นพืชมหัศจรรย์เนื่องจากมีปริมาณวิตามินและสารอาหารสูงกว่าพืชชนิดเดียวกันที่โตเต็มที่ และพบว่าต้นอ่อนบางชนิดมีวิตามินเ
ต้นอ่อนผักบุ้ง มีคุณค่าทางสารอาหารมากกว่าผักบุ้งปกติ 3-5 เท่า รสชาติของต้นอ่อนผักบุ้ง ไม่แตกต่างจากผักบุ้งใหญ่มากมายนัก แต่ต้นอ่อนผักบุ้งอร่อยกว่าผักบุ้งต้นใหญ่ ด้วยเพราะมีความอ่อนนุ่ม และกรอบมากกว่า ต้นอ่อนผักบุ้ง สามารถประกอบอาหารได้หลายเมนู อาทิ ผัดผักบุ้งน้ำมันหอย, ผัดผักบุ้งไฟแดง, ทำสลัดผัก หรือจะทำเมนูต้มจืด แล้วใส่ต้นอ่อนผักบุ้งด้วยก็ได้ สำหรับวิธีการเพาะต้นอ่อนผักบุ้ง คุณรติรัตน์ อธิบายไว้ดังนี้ เริ่มจาก ล้างเมล็ดผักบุ้งในน้ำสะอาดก่อนการนำเมล็ดผักบุ้งแช่ในน้ำ ประมาณ 12 ชั่วโมง เป็นอย่างน้อย หลังจากนั้น เอาเมล็ดมาห่อผ้า เพื่อรักษาความชื้น คลุมผ้าไว้ประมาณ 12 ชั่วโมงเป็นอย่างน้อย เมล็ดจะเริ่มงอก หลังจากนั้น เตรียมดินในตะกร้าสี่เหลี่ยม สูงประมาณ 4-5 นิ้วเพื่อง่ายต่อการขนย้าย วางความหนาของดินไม่เกิน 1 นิ้ว และผสมมูลไส้เดือนลงไปด้วย เพื่อเป็นอาหารของพืช ส่วนดินที่ใช้เป็นดินขุยมะพร้าว ซึ่งจะมีส่วนผสมของดินน้อย เมื่อเมล็ดผักบุ้งที่คลุมไว้ เริ่มมีรากงอกเล็กน้อย ให้นำเอาโปรยลงไปในตะกร้าที่เตรียมดินเอาไว้ เกลี่ยให้เต็มพื้นที่ โรยลงไปแค่พอเหมาะ หลังจากนั้น ให้โรยขุยมะพร้าวกลบทับบางๆ อีกชั
เหตุผลประการหนึ่งที่ต้นอ่อน (SPROTS) เป็นอาหารที่มีคุณค่าก็คือ ต้นอ่อน เป็นอาหารที่ย่อยง่ายและให้พลังงานสูง เมล็ดพืชที่สามารถนำมาเพาะเป็นต้นอ่อนได้มีหลายชนิด ได้แก่ ตระกูลถั่ว (Beans) เป็นพืชที่อุดมไปด้วยโปรตีนและคาร์โบไฮเดรต แต่เมื่ออยู่ในรูปของต้นอ่อนกลับเป็นอาหารที่ไม่ได้ทำให้เกิดภาวะเป็นกรดในร่างกาย ทานตะวัน (Sunflower) ประกอบด้วยวิตามินบีและดีสูง นอกจากนี้ ยังอุดมไปด้วยกรดอะมิโนจำเป็นหลายชนิด งา (Sesame seeds) เป็นแหล่งของแคลเซียม ธาตุเหล็ก ไนอะซิน โปรตีน และฟอสฟอรัส อัลฟาฟ่า (Alfalfa) เป็นแหล่งพืชที่นิยมนำมาเพาะเป็นต้นอ่อน เนื่องจากมีคลอโรฟิลล์จำนวนมาก วิตามินเอ วิตามินบีคอมเพลกซ์ ซี ดี อี จี เค นอกจากนี้ ยังประกอยด้วยธาตุเหล็ก แคลเซียม ฟอสฟอรัส และซัลเฟอร์ ปริมาณมาก ธัญพืช (Grains) ต้นอ่อนของข้าวสาลีอุดมไปด้วยสารอาหารนานาชนิด ได้แก่ วิตามินซี อี บีคอมเพลกซ์ แมกนีเซียม แคลเซียม ฟอสฟอรัส โซเดียม โพแทสเซียม โปรตีน เอนไซม์ และคลอโรฟิลล์ ต้นอ่อน จัดเป็นพืชมหัศจรรย์ เนื่องจากมีปริมาณวิตามินและสารอาหารสูงกว่าพืชชนิดเดียวกันที่โตเต็มที่ และพบว่า ต้นอ่อนบางชนิดมีวิตามินเพิ่มขึ้นถึง 500%