น้ำตาลมะพร้าว
ผู้เขียนเกิดมาท่ามกลางสวนมะพร้าวที่รายล้อม แม้ว่าบ้านอยู่ท้ายตลาดอัมพวาก็ตาม แต่ก็เต็มไปด้วยสวนมะพร้าว มีทั้งไว้เก็บผลและไว้ทำน้ำตาล จังหวัดสมุทรสงคราม ได้ชื่อว่าเป็นจังหวัดที่ปลูกมะพร้าวและทำน้ำตาลมะพร้าวมากจังหวัดหนึ่ง แต่สถิติการปลูกมะพร้าวกลับมีจำนวนที่ลดลงจากอดีต ตัวอย่าง ในปี พ.ศ. 2526 จังหวัดสมุทรสงคราม เคยมีพื้นที่ปลูกมะพร้าว ประมาณ 124,790 ไร่ เป็นพื้นที่ปลูกเพื่อเก็บผล ประมาณ 35,567 ไร่ เป็นพื้นที่ปลูกเพื่อทำน้ำตาล ประมาณ 89,223 ไร่ ในปี พ.ศ. 2557 พื้นที่การปลูกมะพร้าวได้ลดลงอย่างฮวบฮาบ เหลือพื้นที่ปลูกมะพร้าว ประมาณ 72,976 ไร่ และเป็นพื้นที่ปลูกเพื่อทำน้ำตาลเพียง 16,428 ไร่ เท่านั้น พื้นที่ที่หายไปเหล่านั้นหายไปไหนหมด การทำน้ำตาลมะพร้าว เป็นอาชีพดั้งเดิมอยู่คู่จังหวัดสมุทรสงครามมาช้านานกว่า 200 ปี ซึ่งบริเวณใกล้ปากอ่าวลุ่มน้ำแม่กลองเต็มไปด้วยพื้นที่สวนปลูกมะพร้าวและมีการทำน้ำตาลมะพร้าวในบริเวณบางนางจีนและบางขันแตกกันเป็นส่วนมาก (ปัจจุบัน เป็นตำบลท้ายหาด และตำบลบางขันแตก อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสงคราม) การทำน้ำตาลมะพร้าว เป็นการนำน้ำตาลสดที่ได้จากช่อดอกมะพร้าว ที่เรียกว่า “จั่
หากเอ่ยถึงจังหวัดสมุทรสงคราม สิ่งที่ทุกคนนึกถึงน่าจะเป็นตลาดน้ำอัมพวาที่เป็นแหล่งท่องเที่ยวแบบตลาดน้ำ ที่มีแหล่งสินค้าและอาหารหลากหลายรูปแบบได้ให้ชิมกันในช่วงวันหยุดยาวๆ ของผู้ที่รักการกินอาหารหลากหลายเมนู ตลอดจนกิจกรรมต่างๆ ที่ได้ทำกับครอบครัว เมื่อชุมชนเมืองได้รุกคืบเข้ามามากขึ้น วิถีชีวิตของคนในชุมชนก็ต้องมีการปรับเปลี่ยนไปด้วย จึงทำให้คนหนุ่มสาวสมัยใหม่ เลือกที่จะไปประกอบอาชีพอื่นๆ ที่ไม่ใช่อาชีพทางการเกษตร จึงทำให้ภูมิปัญญาบางอย่างในจังหวัดสมุทรสงครามค่อยๆ เลือนหายไป อย่างเช่น การทำน้ำตาลมะพร้าวของคนในชุมชน ที่ทำกันแบบธุรกิจครอบครัว คุณปรีชา เจี๊ยบหยู อยู่บ้านเลขที่ 62/1 หมู่ที่ 8 ตำบลบ้านปรก อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสงคราม ให้ข้อมูลว่า เริ่มแรกเดิมทีการทำน้ำตาลมะพร้าวในจังหวัดสมุทรสงครามมีทำกันเป็นจำนวนมาก ต่อมาเมื่อสังคมเมืองมีการขยายตัว ทุกคนมีทางเลือกมากขึ้น จึงได้ตัดสินใจไปทำอาชีพอื่นแทน จึงส่งผลให้การทำน้ำตาลมะพร้าวค่อยๆ สูญหายไป เขาจึงได้ทำการฟื้นฟูขึ้นมาอีกครั้ง โดยนำชาวบ้านที่มีองค์ความรู้มารวมกลุ่ม จนทำให้ทุกวันนี้การทำน้ำตาลมะพร้าวของกลุ่มสามารถทำรายได้เลี้ยงสมาชิกได้ถึง
วิกฤติราคามะพร้าวยังคงสร้างความเดือดร้อนให้แก่ชาวสวนอย่างทั่วหน้า ไม่เว้นแม้แต่ คุณพรเลิศ เลี่ยนเครือ ผู้ปลูกมะพร้าวน้ำหอมที่จังหวัดกาญจนบุรีด้วย แต่ผลกระทบในครั้งนี้กลับเป็นจุดเปลี่ยนอาชีพด้วยการหันไปผลิตเป็นน้ำตาลมะพร้าวอินทรีย์ แล้วคิดค้นเทคโนโลยีเครื่องจักรประยุกต์เข้ากับภูมิปัญญาดั้งเดิม รองรับการผลิตเพื่อป้อนให้แก่อุตสาหกรรมอาหารและขนมหลายแห่ง พร้อมกับผลิตส่งขายให้กับอเมริกาและฝรั่งเศสมานานเกือบ 10 ปี สร้างชื่อเสียงให้กับจังหวัดกาญจนบุรีด้วยแบรนด์ผลิตภัณฑ์น้ำตาลมะพร้าวคุณภาพชื่อ “ไผ่ริมแคว” คุณพรเลิศ เลี่ยนเครือ หรือ พี่แดง อดีตเคยทำงานที่การไฟฟ้าทองผาภูมิ ในตำแหน่งพนักงานเก็บเงินมานานกว่า 14 ปี ก่อนจะผันตัวเองเข้าสู่เส้นทางเกษตรกรรมด้วยการเลี้ยงปลากระชังเป็นปลาทับทิมกว่า 400 กระชัง ซึ่งถือเป็นรายใหญ่ของกาญจนบุรี จากนั้นต่อยอดด้วยการทำร้านอาหารแล้วนำปลาที่เลี้ยงไปทำเมนูปลาต่างๆ แล้วหันไปปลูกผลไม้ในสวนตัวเองอย่างจริงจังหลายชนิด รวมถึงมะพร้าวน้ำหอม จนนำมาสู่การทำธุรกิจน้ำตาลมะพร้าวที่โด่งดังของจังหวัดจนทุกวันนี้ “ทำสวนผลไม้ อย่างขนุน ส้มโอ แก้วมังกร กระท้อน มะพร้าว ฯลฯ แต่ประสบปัญห
“มะพร้าว” เป็นพืชพื้นถิ่นที่มีบทบาทสำคัญในวิถีชีวิตชาวบ้านจังหวัดสมุทรสงครามมาอย่างยาวนาน ในฐานะพืชอาหาร พืชสมุนไพรคู่ครัว อีกทั้งเป็นพืชเศรษฐกิจสำคัญที่สร้างอาชีพและรายได้ก้อนโตให้แก่เกษตรกรจังหวัดสมุทรสงคราม หากใครอยากเรียนรู้ บทบาท “มะพร้าว” ในวิถีชีวิตชาวบ้านตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ขอแนะนำให้แวะไปที่ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนบ้านริมคลองโฮมสเตย์ ซอยบ้านปรก อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสงคราม ที่นี่ผู้มาเยือนทุกท่านจะได้เรียนรู้เรื่องมะพร้าวอย่างครบวงจร ตั้งแต่การปลูกดูแล การใช้ประโยชน์มะพร้าวแบบเจาะลึกครบทุกมิติกันเลยทีเดียว มะพร้าวเพื่อชีวิต บ้านริมคลองโฮมสเตย์ ภาคภูมิใจในวิถีชีวิตชาวสวนมะพร้าว จึงก่อตั้ง “พิพิธภัณฑ์มะพร้าว” เพื่อบอกเล่าเรื่องราวของมะพร้าว พืชมหัศจรรย์คู่วิถีไทยและคู่ครัวไทยให้นักท่องเที่ยวได้รู้จักธรรมชาติมะพร้าวในทุกแง่มุม ตั้งแต่การปลูก การแปรรูป การใช้ประโยชน์ ในฐานะพืชอาหารและสิ่งประดิษฐ์ต่างๆ ที่เกิดจากมะพร้าว ภายในพิพิธภัณฑ์มะพร้าว จัดแสดงนิทรรศการพันธุ์มะพร้าวไทย ทำให้รู้ว่า มะพร้าว ที่ปลูกในประเทศไทย แบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มต้นสูง ออกผลช้า มีสะโพกที่โคนต้น ผสม
หากเอ่ยถึงจังหวัดสมุทรสงคราม สิ่งที่ทุกคนนึกถึงน่าจะเป็นตลาดน้ำอัมพวาที่เป็นแหล่งท่องเที่ยวแบบตลาดน้ำ ที่มีแหล่งสินค้าและอาหารหลากหลายรูปแบบได้ให้ชิมกันในช่วงวันหยุดยาวๆ ของผู้ที่รักการกินอาหารหลากหลายเมนู ตลอดจนกิจกรรมต่างๆ ที่ได้ทำกับครอบครัว เมื่อชุมชนเมืองได้รุกคืบเข้ามามากขึ้น วิถีชีวิตของคนในชุมชนก็ต้องมีการปรับเปลี่ยนไปด้วย จึงทำให้คนหนุ่มสาวสมัยใหม่ เลือกที่จะไปประกอบอาชีพอื่นๆ ที่ไม่ใช่อาชีพทางการเกษตร จึงทำให้ภูมิปัญญาบางอย่างในจังหวัดสมุทรสงครามค่อยๆ เลือนหายไป อย่างเช่น การทำน้ำตาลมะพร้าวของคนในชุมชน ที่ทำกันแบบธุรกิจครอบครัว คุณปรีชา เจี๊ยบหยู อยู่บ้านเลขที่ 62/1 หมู่ที่ 8 ตำบลบ้านปรก อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสงคราม ให้ข้อมูลว่า เริ่มแรกเดิมทีการทำน้ำตาลมะพร้าวในจังหวัดสมุทรสงครามมีทำกันเป็นจำนวนมาก ต่อมาเมื่อสังคมเมืองมีการขยายตัว ทุกคนมีทางเลือกมากขึ้น จึงได้ตัดสินใจไปทำอาชีพอื่นแทน จึงส่งผลให้การทำน้ำตาลมะพร้าวค่อยๆ สูญหายไป เขาจึงได้ทำการฟื้นฟูขึ้นมาอีกครั้ง โดยนำชาวบ้านที่มีองค์ความรู้มารวมกลุ่ม จนทำให้ทุกวันนี้การทำน้ำตาลมะพร้าวของกลุ่มสามารถทำรายได้เลี้ยงสมาชิกได้ถึง
การก้าวเดินไปบนถนนชีวิตสามารถได้เรียนรู้ทุกย่างก้าวที่ได้ผ่านมาเรื่องราวทั้งหมดคือความจริงของชีวิต ทุกช่วงระยะเวลาทำให้ได้พบเห็นเรื่องราวที่เกิดขึ้นมากมายเป็นบทเรียนที่ยิ่งใหญ่ที่สุดสำหรับชีวิต จำเป็นต้องนำมาจดจำอย่างยิ่ง เนื่องจากบางเรื่องราวที่เกิดบนเส้นทางของการเดินทางอาจจะทำให้เราจำเป็นต้องเดินช้าหรืออาจจะหลงทางไปบ้าง แต่ช่างมันเถอะ ขอเพียงอย่าท้อ อย่ายอมแพ้เท่านั้นพยายามค้นหาเส้นทางก้าวเดินใหม่ บางครั้งเส้นทางที่เราอาจจะมองเห็นว่าเป็นเส้นทางเล็กๆ แต่อาจจะสามารถนำพาให้เราพบกับสิ่งที่เราต้องการก็ได้ สู้และสู้ต่อไป เส้นทางที่สามารถ เดินห่าง…จากความจน ยินดีต้อนรับเสมอสำหรับคนที่สู้ชีวิต ขอแค่ให้มีความขยันและความอดทนเท่านั้น เพราะจะสามารถทำให้ก้าวเดินทุกก้าวไปได้อย่างสะดวกและรวดเร็วยิ่งขึ้น สวัสดีครับแฟนๆ ขอต้อนรับด้วยคำว่า สวัสดี และขอบพระคุณอย่างล้นเหลือจากนิตยสารเทคโนโลยีชาวบ้านและผู้เขียนเป็นเบื้องแรก คอลัมน์นี้ได้รับการตอบรับเป็นอย่างดีจากแฟนๆ เรียกได้ว่าเป็นแฟนประจำ มีการส่งเสียงไปให้แรงใจ โทร. (081) 846-0652 หรือติดตามทางเฟซบุ๊ก ที่ใช้ชื่อ นายสมยศ ศรีสุโร หรือ ID. Janyos ก
แต่ไหน แต่ไร วิถีชีวิตคนไทยกับมะพร้าวดูเหมือนจะแยกกันไม่ออก เพราะมะพร้าวมีความสำคัญในแง่การบริโภคจึงเข้าไปอยู่ในทุกครัวเรือน โดยเฉพาะการปรุงอาหารที่นิยมใช้น้ำตาลมะพร้าวเนื่องจากมีความหอม หวาน จนทำให้รสอาหารมีความอร่อย น้ำตาลมะพร้าวหรือที่ทุกคนรู้จักว่าเป็นน้ำตาลปี๊บหรือน้ำตาลก้อน ถือเป็นผลิตภัณฑ์พื้นบ้านที่ผลิตโดยอาศัยภูมิปัญญาชาวบ้านมาเป็นเวลาช้านาน มีการผลิตกันอย่างแพร่หลายในหลายจังหวัด เช่น สมุทรสงคราม ราชบุรี เพชรบุรี สุราษฎร์ธานี เป็นต้น สามารถนำมาประกอบอาหารไทยได้ทั้งคาวและหวาน เป็นที่โปรดปรานของทั้งคนไทยและคนต่างชาติ แต่สำหรับในยุคไทยแลนด์ 4.0 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและความเจริญทางอุตสาหกรรมส่งผลให้ความสำคัญของน้ำตาลมะพร้าวถูกแทนที่ด้วยน้ำตาลทราย พร้อมๆ ไปกับภูมิปัญญาดั้งเดิมที่กำลังถูกลืม อย่างไรก็ตาม คุณปรีชา เจี๊ยบหยู ในฐานะผู้นำชุมชนบ้านลมทวนจังหวัดสมุทรสงคราม คงไม่ยอมให้สิ่งเหล่านี้เกิดขึ้น จึงชักชวนชาวบ้านช่วยกันสานภูมิปัญญาไทยสู่ผลิตภัณฑ์น้ำตาลมะพร้าว นำกลับมาสร้างประโยชน์ พร้อมทั้งรวมกลุ่มภายในชุมชน จังหวัดสมุทรสงคราม ปลูกมะพร้าวแบบยกร่องสวน เพื่อเสริมสร้างระบบนิเวศให้ก
“ถ้าน้ำในคลองจืด น้ำตาลจะแห้งช้า” ลุงๆ ป้าๆ คนทำน้ำตาลมะพร้าวเล่าให้ฟังถึงความเชื่อโบราณของคนสวนเก่าๆ หลายต่อหลายเรื่อง ตอนที่ผมไปเที่ยวดูการทำน้ำตาลมะพร้าวแบบอินทรีย์ ซึ่งมีการรวมตัวกันของคนทำน้ำตาลมะพร้าวจำนวนหลายสิบสวน ในเขตบ้านนางตะเคียน อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสงคราม เพื่อรักษาไว้ซึ่งลมหายใจของสวนมะพร้าวเก่าแก่ที่ทำสืบทอดกันมายาวนาน คุณศิริวรรณ ประวัติร้อย หรือ คุณเก๋ ลูกหลานบ้านนางตะเคียน ผู้ประสานงานกลุ่มฯ บอกว่า บ้านนางตะเคียนปัจจุบันนี้ยังพอมีทำน้ำตาลมะพร้าวอยู่บ้าง แต่ว่าตอนนี้เหลือแค่รุ่นตายายแล้วล่ะค่ะ คนทำของเราจะหมดแล้ว เราเองก็อยากให้คนไทยได้กินของดีๆ แต่เราก็ผลิตได้น้อย การดูแลต้นมะพร้าวตอนนี้เราใช้แต่ B.T. เน้นปุ๋ยชีวภาพมาได้หลายปีแล้ว ไม่ใช้สารเคมีหรือยาฆ่าหญ้า สารกันบูดที่ส่วนใหญ่เขาฉีดใส่กระบอกรองน้ำตาลนี่เราไม่ใช้เลย ใช้ไม้พะยอมใส่แบบโบราณ แล้วกรองออกก่อนต้มเคี่ยว เราไม่ได้ใส่แบะแซหรือน้ำตาลทรายปนด้วย มันจึงเป็นน้ำตาลมะพร้าวแท้ๆ ซึ่งถ้าเก็บไว้ปกติก็จะคงสภาพอยู่ได้ไม่นาน เพราะจะเอือดเยิ้ม อ่อนตัวลงไป ส่วนหนอนหัวดำที่กินยอดกินใบมะพร้าว เป็นศัตรูตัวฉกาจของชาวสวนนั้น คุ
ผู้เขียนเกิดมาท่ามกลางสวนมะพร้าวที่รายล้อม แม้ว่าบ้านอยู่ท้ายตลาดอัมพวาก็ตาม แต่ก็เต็มไปด้วยสวนมะพร้าว มีทั้งไว้เก็บผลและไว้ทำน้ำตาล จังหวัดสมุทรสงคราม ได้ชื่อว่าเป็นจังหวัดที่ปลูกมะพร้าวและทำน้ำตาลมะพร้าวมากจังหวัดหนึ่ง แต่สถิติการปลูกมะพร้าวกลับมีจำนวนที่ลดลงจากอดีต ตัวอย่าง ในปี พ.ศ. 2526 จังหวัดสมุทรสงคราม เคยมีพื้นที่ปลูกมะพร้าว ประมาณ 124,790 ไร่ เป็นพื้นที่ปลูกเพื่อเก็บผล ประมาณ 35,567 ไร่ เป็นพื้นที่ปลูกเพื่อทำน้ำตาล ประมาณ 89,223 ไร่ ในปี พ.ศ. 2557 พื้นที่การปลูกมะพร้าวได้ลดลงอย่างฮวบฮาบ เหลือพื้นที่ปลูกมะพร้าว ประมาณ 72,976 ไร่ และเป็นพื้นที่ปลูกเพื่อทำน้ำตาลเพียง 16,428 ไร่ เท่านั้น พื้นที่ที่หายไปเหล่านั้นหายไปไหนหมด การทำน้ำตาลมะพร้าว เป็นอาชีพดั้งเดิมอยู่คู่จังหวัดสมุทรสงครามมาช้านานกว่า 200 ปี ซึ่งบริเวณใกล้ปากอ่าวลุ่มน้ำแม่กลองเต็มไปด้วยพื้นที่สวนปลูกมะพร้าวและมีการทำน้ำตาลมะพร้าวในบริเวณบางนางจีนและบางขันแตกกันเป็นส่วนมาก (ปัจจุบัน เป็นตำบลท้ายหาด และตำบลบางขันแตก อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสงคราม) การทำน้ำตาลมะพร้าว เป็นการนำน้ำตาลสดที่ได้จากช่อดอกมะพร้าว ที่เรียกว่า “จั่
วันที่ นายคันฉัตร ตันเสถียร ผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรสงครามกล่าวว่าปัจจุบันมีสถานที่ผลิตและโรงหลอมน้ำตาลมะพร้าว จำนวน 77 แห่ง แยกเป็นอำเภอเมือง 19 แห่ง,อำเภออัมพวา 46 แห่งและอำเภอบางคนที 12 แห่ง ในจำนวนนี้มีใบอนุญาตผลิตอาหารตามมาตราฐานอาหารและยา หรือ อย.จำนวน 13 แห่ง ที่เหลือ 64 แห่งไม่มีใบอนุญาต ซึ่งตนประชุมแก้ไขปัญหาน้ำตาลมะพร้าว กรณีโรงหลอมน้ำตาล ครั้งที่ 1/2560 โดยสั่งให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้าไปจัดระเบียบให้แหล่งผลิตดังกล่าวดำเนินการให้ถูกต้องโดยเร็ว โดยเฉพาะข้อมูลที่เกี่ยวกับการแสดงฉลาก หากใช้ชื่ออาหารว่า “น้ำตาลมะพร้าวแท้”จะต้องประกอบด้วยน้ำตาลมะพร้าว 100 เปอร์เซ็นต์ หากมีส่วนประกอบของน้ำตาลมะพร้าวไม่ถึง 100 เปอร์เซ็นต์จะต้องระบุปริมาณของน้ำตาลมะพร้าวในฉลากด้วย ทั้งนี้ควรมีปริมาณของน้ำตาลมะพร้าวไม่ต่ำกว่า 50 เปอร์เซ็นต์ ส่วนที่เหลือ อาจจะเป็นส่วนประกอบอื่นๆเพื่อปรับสภาพของอาหารได้ เช่นน้ำตาลทราย สีสังเคราะห์ กลูโคสไซรัป หรือแป๊ะแซ เป็นต้น ส่วนกรณีที่มีการใช้ “น้ำตาลอื่น”เป็นส่วนผสมหลัก เช่น น้ำตาลทราย ให้ใช้ชื่ออาหารว่า“น้ำตาลผสม”โดยส่วนประกอบที่สำคัญขึ้นอยู่กับสูตรของแต่ละผู้ผ