ปลาทูนึ่ง
คุยเรื่องปลาทูแม่กลองมาหลายตอนจนหน้าคนเขียนจะเป็นปลาทูอยู่แล้ว ฉบับนี้คงจะมาถึงตอนสุดท้ายว่าด้วย “ปลาทูนึ่ง” คอปลาทูคงรู้กันดีว่า ปลาทูนึ่งสมัยนี้นั้นเราเรียกกันตามใจปากต่อๆ กันมา เพราะมันเรียงใส่เข่งมาเหมือนกับเพิ่งยกออกจากลังถึง นึ่งเสร็จมาใหม่ๆ แต่ความเป็นจริงแล้วหมายถึง “ปลาทูต้มต้มน้ำเกลือ” ส่วนเรื่องที่ว่าในอดีตคนทำปลาทูนึ่งเขานึ่งกันจริงหรือเปล่า? จนบัดนี้ก็ยังเถียงกันไม่จบว่านึ่งหรือไม่นึ่ง เพราะหลักฐานการบันทึกและภาพถ่ายไม่มีให้เห็น ได้ยินแต่คนนั้นคนนี้พูดตามความทรงจำ แต่ก็มีคนหาเหตุผลมาอธิบายจนได้ว่าทำไมปลาทูนึ่งกลายมาเป็นปลาทูต้ม นั่นก็เพราะเวลานึ่งแล้วผิวปลาจะไม่ตึงสวยเท่ากับนำไปต้มในน้ำเกลือเจือจาง พอเอาขึ้นมาร้อนๆ ก็ราดด้วยน้ำเย็นจัดอีกทีให้ผิวมันวาว และดึงรั้งให้หนังตึงน่ากิน เอาเป็นว่าจะนึ่งหรือจะต้ม ผลผลิตปลายทางก็เหมือนกันทั้ง 2 แบบ คือ หมายถึงปลาทูที่ผ่านกระบวนการทำให้สุกแล้วและมีรสเค็มอยู่ในตัว สามารถเอามาปรุงอาหารต่อได้มากมายหลายชนิด ไม่ว่าจะเป็นน้ำพริกปลาทู ปลาทูทอด ปลาทูต้มยำ ปลาทูต้มส้ม ปลาทูฉู่ฉี่ ปลาทูผัดฉ่า ปลาทูต้มมะดัน ข้าวผัดน้ำพริกปลาทู ฯลฯ “ปลาทูแม่กลอง”
หน้าฝนแบบนี้ คนเมืองคงจะไม่ชอบใจนัก เพราะทำให้รถติด เดินทางไปไหนมาไหนไม่สะดวก แต่สำหรับคนชนบทแล้ว หน้าฝนคือชีวิต คือความอุดมสมบูรณ์ มีกุ้ง หอย ปู ปลา เต็มท่า เต็มหนอง ผักพื้นถิ่นต่างแตกยอดชูช่อสดเขียว ทั้งหน่อไม้ เห็ดชนิดต่างๆ พร้อมให้เก็บไปปรุงเป็นอาหาร หล่อเลี้ยงชีวิตให้ดำเนินได้ต่อไป นอกจากพืชหลัก คือข้าวแล้ว หลายครัวเรือนยังต้องเตรียมที่เพื่อลงต้นกล้าของพืชผักชนิดต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น ถั่ว บวบ มะเขือ และพืชพรรณอื่น ตามที่ตัวเองมีเมล็ดพันธุ์ หน้าฝนในชนบทจึงเขียวขจีมีชีวิตชีวา แต่ยังมีพืชผักอีกหลายชนิดที่ขึ้นเองตามธรรมชาติ สามารถเก็บมาต้มยำทำกินได้โดยไม่ต้องลงแรงปลูกและซื้อหา เพียงแค่เป็นคนขยัน รู้จักกิน รู้จักใช้ประโยชน์จากพืชผักเหล่านั้น ลำเท็ง เด็ดยอดอ่อนมาทำแกงเลียงส้มระกำใส่ปลาทูนึ่ง หรือทำแกงเลียงใส่เมล็ดมะม่วงหิมพานต์ ใส่กุ้งแห้ง ขอบอกว่า ซดคล่องคอกว่าซุปเห็ด ซุปข้าวโพด ของฝรั่งมังค่า มากมายนัก ลำเท็ง หรือบางแห่งบางที่ เรียกว่า ลำเพ็ง เป็นเฟิร์นชนิดหนึ่ง ยอดอ่อนๆ จะมีสีส้มออกแดง ใบแก่จะมีสีเขียวเข้ม ลำต้นเป็นเถาวัลย์ ชอบเกาะตามต้นไม้ใหญ่ หรือพุ่มไม้อื่นๆ ยิ่งหน้าฝนแบบนี้ จะแตกยอด
คุยเรื่องปลาทูแม่กลองมาหลายตอนจนหน้าคนเขียนจะเป็นปลาทูอยู่แล้ว ฉบับนี้คงจะมาถึงตอนสุดท้ายว่าด้วย “ปลาทูนึ่ง” คอปลาทูคงรู้กันดีว่า ปลาทูนึ่งสมัยนี้นั้นเราเรียกกันตามใจปากต่อๆ กันมา เพราะมันเรียงใส่เข่งมาเหมือนกับเพิ่งยกออกจากลังถึง นึ่งเสร็จมาใหม่ๆ แต่ความเป็นจริงแล้วหมายถึง ”ปลาทูต้มต้มน้ำเกลือ” ส่วนเรื่องที่ว่าในอดีตคนทำปลาทูนึ่งเขานึ่งกันจริงหรือเปล่า? จนบัดนี้ก็ยังเถียงกันไม่จบว่านึ่งหรือไม่นึ่ง เพราะหลักฐานการบันทึกและภาพถ่ายไม่มีให้เห็น ได้ยินแต่คนนั้นคนนี้พูดตามความทรงจำ แต่ก็มีคนหาเหตุผลมาอธิบายจนได้ว่าทำไมปลาทูนึ่งกลายมาเป็นปลาทูต้ม นั่นก็เพราะเวลานึ่งแล้วผิวปลาจะไม่ตึงสวยเท่ากับนำไปต้มในน้ำเกลือเจือจาง พอเอาขึ้นมาร้อนๆ ก็ราดด้วยน้ำเย็นจัดอีกทีให้ผิวมันวาว และดึงรั้งให้หนังตึงน่ากิน เอาเป็นว่าจะนึ่งหรือจะต้ม ผลผลิตปลายทางก็เหมือนกันทั้ง 2 แบบ คือ หมายถึงปลาทูที่ผ่านกระบวนการทำให้สุกแล้วและมีรสเค็มอยู่ในตัว สามารถเอามาปรุงอาหารต่อได้มากมายหลายชนิด ไม่ว่าจะเป็นน้ำพริกปลาทู ปลาทูทอด ปลาทูต้มยำ ปลาทูต้มส้ม ปลาทูฉู่ฉี่ ปลาทูผัดฉ่า ปลาทูต้มมะดัน ข้าวผัดน้ำพริกปลาทู ฯลฯ “ปลาทูแม่กลอง”
การลงทุนทำปลาทูนึ่งนั้น ใช้ต้นทุนไม่สูงมาก แต่ทำกำไรได้ค่อนข้างดี และน่าจะเป็นหนึ่งในอาชีพที่สามารถนำไปต่อยอดเป็นธุรกิจในครัวเรือน สร้างรายได้ให้ครอบครัวไม่ยากเลย เปิดตัวธุรกิจทำเงิน ทำกินก็ได้… ทำขายก็ ‘รวย’ กับหลักสูตร ‘ปลาทูนึ่ง’ ที่ มติชนอคาเดมี ‘หน้างอ…คอหัก’ นิยามความอร่อยของ ‘ปลาทูแม่กลอง’ ที่ติดหูสำหรับนักชิมปลามืออาชีพ เรียกได้ว่า ถ้าเดินทางไปถึง จ.สมุทรสงคราม แล้วไม่ได้ลิ้มลองเมนูเด็ดอย่าง ปลาทูแม่กลอง คงเสียชื่อนักชิมมืออาชีพน่าดูเชียวล่ะครับ แต่ครั้งนี้ผมไม่ได้จำเพาะเจาะจง ว่าจะพาไปชิมปลาทูแม่กลองเสียทีเดียว แต่จะแนะนำธุรกิจที่สามารถสร้างอาชีพ-สร้างรายได้อย่างเป็นกอบเป็นกำให้กับพ่อค้า-แม่ขาย ในย่านนี้มาอย่างยาวนาน ใช่แล้ว…เรากำลังพูดถึงอาชีพการทำ ‘ปลาทูนึ่ง’ขายนั่นเอง ถ้าพูดถึง “ปลาทูนึ่ง”ใครหลายคนอาจจะเข้าใจและนึกถึง การนำปลาทูไปนึ่งในซึ้งหรือในเตาอบอย่างแน่แท้ แต่จริงๆแล้ว ปลาทูนึ่ง ไม่ใช่เป็นการนำปลาไปนึ่งนะครับ แต่จะนำปลาทูที่ได้มาต้ม หรือลวกพอแค่ตาขุ่นขาว แต่ที่เรียกว่า ปลาทูนึ่งนั้น เพราะว่าเป็นคำที่คนโบราณใช้เรียกกัน และเรียกต่อกันมาจนถึงปัจจุบัน ค