พืชคลุมดิน
“ปลูกพืชคลุมดิน” พืชที่ปลูกหรือหว่านให้มีการเจริญเติบโตอย่างหนาแน่น มีใบหนามีระบบรากแน่นสำหรับคลุม หรือยึดดิน เจริญคลุมพืชทุกอย่างที่อยู่บนดิน เพื่อช่วยให้ดิน มีสิ่งรองรับแรงปะทะ และพัดพาจากกระแสน้ำ และกระแสลม ใครที่กำลังมองหา “พืชคลุมดิน” ที่นอกเหนือจากการปูหญ้า ยังมีพืชชนิดอื่นๆ ที่ใช้ปลูกเพื่อคลุมดินได้ วันนี้เทคโนโลยีชาวบ้านรวบรวมมาให้ทั้งหมด 8 ชนิดด้วยกัน อีกทั้งยังสามารถปลูกไว้กินได้อีกด้วย นอกจากช่วยคลุมดิน ตกแต่งสวนได้แล้ว กินได้อีกด้วย จะมีชนิดไหนกันบ้างตามมาดูกันเลย ผักแว่น วัชพืชพุ่มเตี้ยขนาดเล็กขึ้นปกคลุมผิวดินเป็นกลุ่ม ลำต้นมีขนปกคลุม ใบเป็นใบประกอบ มีใบย่อย 3 ใบ ลักษณะเป็นรูปหัวใจ ปลายใบเว้ารูปทรงคล้ายใบโคลเวอร์ ดอกมีสีเหลืองออกดอกตลอดทั้งปี ลำต้นไหลทอดยาวไปตามพื้นดิน การปลูก : เจริญเติบโตได้ดีในดินที่ร่วนซุยและชุ่มชื้น จึงงอกงามมากในช่วงหน้าฝน โดยไม่ต้องดูแลตัดแต่ง ทนต่อการเหยียบย่ำพอสมควรจึงปลูกแทนหญ้าได้ นิยมนำมาปลูกตามลานดิน ปลูกไว้ตามซอกหินหรือระหว่างทางเท้า ชะพลู เป็นพืชคลุมดินที่นิยมปลูกกันทั่วประเทศ เป็นไม้คลุมดินสูง 50-70 เซนติเมตร ชอบแสงรำไร มักปลูกคลุมดินใต้ต้น
การปลูกพืชคลุมดินในสวนยาง เป็นวิธีการหนึ่งที่สามารถเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ในสวนยาง ทั้งนี้เศษซากพืชคลุมดินเมื่อย่อยสลายกลายเป็นอินทรีย์วัตถุจะช่วยเพิ่มธาตุอาหารในดิน ช่วยปรับโครงสร้างดินและช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของการใช้ปุ๋ยเคมี ส่งผลให้การเจริญเติบโตดี เปิดกรีดได้เร็วขึ้นและให้ผลผลิตน้ำยางเพิ่มขึ้นด้วย การปลูกพืชคลุมดินไม่เพียงแต่จะช่วยเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของดินเท่านั้น แต่ยังช่วยป้องกันการชะล้างพังทลายของหน้าดิน รักษาความชื้นในดิน ควบคุมการเจริญเติบโตของวัชพืช ลดปริมาณการใช้ปุ๋ยเคมีและสารเคมีกำจัดวัชพืช ตลอดจนเพิ่มความหลากหลายทางชีวภาพในดิน ได้แก่ จุลินทรีย์ เช่น เชื้อรา และแบคทีเรียที่เป็นประโยชน์ และสัตว์ที่อาศัยอยู่ในดิน เช่น มด แมลง หนอน ซึ่งทำหน้าที่ย่อยสลายซากพืชซากสัตว์ และยังช่วยเพิ่มฮิวมัสให้แก่ดินอีกด้วย สถาบันวิจัยยาง ได้มีการแนะนำให้เกษตรกรปลูกพืชคลุมดินในสวนยางช่วงเวลาเดียวกันกับการปลูกยาง โดยปลูกในระหว่างแถวยางที่ไม่มีการปลูกพืชแซมยาง พืชคลุมดินที่นิยมปลูกในสวนยาง ได้แก่ พืชคลุมดินตระกูลถั่ว เช่น คาโลโปโกเนียม เซ็นโตรซีมา และเพอราเรีย เป็นต้น ปัจจุบันมีพืชคลุมดินอีกชนิดหน
ปัจจุบัน พื้นที่ปลูกยางเดิมและดินพื้นที่ปลูกยางใหม่ เป็นดินเสื่อมโทรม มีความสมบูรณ์ต่ำ อันเกิดจากดินขาดอินทรียวัตถุ เกิดการชะล้างพังทลายของหน้าดิน การสูญเสียธาตุอาหารพืชโดยติดไปกับผลผลิตสภาพแวดล้อมธรรมชาติเปลี่ยนแปลง สภาวะโลกร้อนทำให้ฝนไม่ตกต้องตามฤดูกาล สิ่งเหล่านี้เป็นปัจจัยสำคัญที่มีผลกระทบต่อการเจริญเติบโตและการให้ผลผลิต ทำให้ต้นทุนในการผลิตยางพารา ปาล์มน้ำมัน ตลอดจนไม้ผลสูง การปลูกพืชคลุมดินในสวนยาง เป็นวิธีการหนึ่งที่สามารถเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ในสวนยาง ทั้งนี้ เศษซากพืชคลุมดินเมื่อย่อยสลายกลายเป็นอินทรียวัตถุจะช่วยเพิ่มธาตุอาหารในดิน ช่วยปรับโครงสร้างดินและช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของการใช้ปุ๋ยเคมี ส่งผลให้การเจริญเติบโตดี เปิดกรีดได้เร็วขึ้นและให้ผลผลิตน้ำยางเพิ่มขึ้นด้วย การปลูกพืชคลุมดินไม่เพียงแต่จะช่วยเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของดินเท่านั้น แต่ยังช่วยป้องกันการชะล้างพังทลายของหน้าดิน รักษาความชื้นในดิน ควบคุมการเจริญเติบโตของวัชพืช ลดปริมาณการใช้ปุ๋ยเคมีและสารเคมีกำจัดวัชพืช ตลอดจนเพิ่มความหลากหลายทางชีวภาพในดิน ได้แก่ จุลินทรีย์ เช่น เชื้อรา และแบคทีเรียที่เป็นประโยชน์ และสัตว์ที่อา
ปัจจุบัน พื้นที่ปลูกยางเดิมและดินพื้นที่ปลูกยางใหม่ เป็นดินเสื่อมโทรม มีความสมบูรณ์ต่ำ อันเกิดจากดินขาดอินทรียวัตถุ เกิดการชะล้างพังทลายของหน้าดิน การสูญเสียธาตุอาหารพืชโดยติดไปกับผลผลิตสภาพแวดล้อมธรรมชาติเปลี่ยนแปลง สภาวะโลกร้อนทำให้ฝนไม่ตกต้องตามฤดูกาล สิ่งเหล่านี้เป็นปัจจัยสำคัญที่มีผลกระทบต่อการเจริญเติบโตและการให้ผลผลิต ทำให้ต้นทุนในการผลิตยางพารา ปาล์มน้ำมัน ตลอดจนไม้ผลสูง การปลูกพืชคลุมดินในสวนยาง เป็นวิธีการหนึ่งที่สามารถเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ในสวนยาง ทั้งนี้ เศษซากพืชคลุมดินเมื่อย่อยสลายกลายเป็นอินทรียวัตถุจะช่วยเพิ่มธาตุอาหารในดิน ช่วยปรับโครงสร้างดินและช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของการใช้ปุ๋ยเคมี ส่งผลให้การเจริญเติบโตดี เปิดกรีดได้เร็วขึ้นและให้ผลผลิตน้ำยางเพิ่มขึ้นด้วย การปลูกพืชคลุมดินไม่เพียงแต่จะช่วยเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของดินเท่านั้น แต่ยังช่วยป้องกันการชะล้างพังทลายของหน้าดิน รักษาความชื้นในดิน ควบคุมการเจริญเติบโตของวัชพืช ลดปริมาณการใช้ปุ๋ยเคมีและสารเคมีกำจัดวัชพืช ตลอดจนเพิ่มความหลากหลายทางชีวภาพในดิน ได้แก่ จุลินทรีย์ เช่น เชื้อรา และแบคทีเรียที่เป็นประโยชน์ และสัตว์ที่อา