ละมุด
ชื่อภาษาอังกฤษ : Sapodilla ชื่อวิทยาศาสตร์ : Acharas zapota วงศ์ : SAPOTACEAE “อารมณ์เสีย อย่าปล่อยให้เสีย ต้องเคี้ยวชิกเคล็ท” ยังพอจำสโลแกนนี้ได้ไหมครับ ใครจำได้บ้างเอ่ย จำได้แสดงว่าต้องเป็นวัยรุ่นตอนปลายยุค ’70 แน่ๆ ทราบไหมครับว่า หมากฝรั่ง นั้นทำมาจากอะไร นี่เลย ยางละมุดนี่แหละเป็นส่วนประกอบสำคัญของหมากฝรั่งที่พวกเราชอบเคี้ยวเล่นกันนั่นเอง ละมุด เดิมเป็นไม้แถบอเมริกากลาง เม็กซิโก และหมู่เกาะอินเดียตะวันตก และคงจะมีการนำเข้ามาปลูกในบ้านเรานานกว่าร้อยปีแล้ว แต่ในไทยเราก็ยังมีละมุดพันธุ์พื้นเมืองอยู่แล้ว เป็นพันธุ์ชนิดผลเล็ก เรียกว่า ละมุดสีดา ส่วนละมุดฝรั่งนั้นผลใหญ่กว่ามาก ผลกลมรี แล้วแต่ชนิดของพันธุ์ เท่าที่ทราบ มีไม่น้อยกว่า 6 พันธุ์ สาลี่ มะฝ่อ กระสวย ไข่ห่าน ฝาชี และพันธุ์มะกอก แต่ที่นิยมปลูกกัน มีเพียง 2 พันธุ์ คือ มะกอก กับไข่ห่าน พันธุ์มะกอก ชื่อก็บอกอยู่ในตัวแล้วว่า ผลเล็ก รูปร่างรีๆ คล้ายผลมะกอก ใบแคบ ยาว สีเขียวเข้ม เวลาสุก เนื้อสีน้ำตาลแดง เนื้อละเอียด กรอบ หวาน มีความแข็งมากกว่าพันธุ์ไข่ห่าน ชาวสวนรุ่นเก่ามีเทคนิคง่ายๆ ที่ทำให้รสชาติของละมุดหวาน หอม นุ่มนวล ละมุนละไมขึ้น
เคยสังเกตกันไหมว่า หากพูดถึงเรื่องผลไม้หรือลองถามกับเพื่อนเล่นๆ ว่า เพื่อนชอบรับประทานผลไม้อะไร เชื่อว่าคำตอบที่หลายคนมักจะได้ยินกันบ่อยๆ ก็คงจะหนีไม่พ้น ทุเรียน เงาะ มังคุด แตงโม กล้วย และอื่นๆ แต่เคยสังเกตไหมว่า จะมีผลไม้อยู่ชนิดหนึ่งที่จะหาคนชอบรับประทานได้น้อยมาก นั่นก็คือ “ละมุด” แต่ก็ไม่รู้สาเหตุที่แน่ชัดว่า จริงๆ แล้วที่คนส่วนใหญ่ไม่นิยมรับประทานเป็นเพราะรสชาติที่ไม่ถูกปาก หรือเป็นเพราะหารับประทานได้ยากกันแน่ ละมุดจึงถูกจัดอยู่ในหมวดผลไม้ที่ถูกลืม กลายเป็นผลไม้นอกกระแสไปโดยปริยาย แต่รู้หรือไม่ว่าผลไม้ที่หลายคนมองข้ามกลับกลายเป็นผลไม้ที่ช่วยเกษตรกรสร้างรายได้แบบเงียบๆ กว่าปีละเป็นล้านบาทกับพื้นที่การปลูกเพียง 11 ไร่ และที่สำคัญเจ้าของสวนผลิตไม่ทันขายด้วยซ้ำ คุณสิทธิชัย ขวัญทอง อยู่บ้านเลขที่ 623/1 หมู่ที่ 1 ตำบลมะกอกเหนือ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง อดีตวิศวกรโรงงาน ผันชีวิตเป็นเกษตรกรรุ่นใหม่ เข้ามาพัฒนาพื้นที่มรดกของครอบครัวด้วยการนำเทคโนโลยีสมัยใหม่มาปรับใช้ภายในสวน เพิ่มผลผลิต ลดต้นทุน จนสามารถสร้างรายได้เลี้ยงครอบครัวให้อยู่อย่างสุขสบายได้จนถึงทุกวันนี้ คุณสิทธิชัย เล่าถึงจุด
ที่บ้านสวนผสมผสาน สวนสุวรรณีปรางทอง ตำบลอ่างทอง อำเภอเมือง จังหวัดกำแพงเพชร ของปราชญ์พื้นบ้าน อย่าง คุณลุงวิเชียร หรือ อาจารย์วิเชียร บุญเกิด ผู้คร่ำหวอดอยู่กับต้นหมากรากไม้มายาวนานกว่า 30-40 ปี ในพื้นที่ 17 ไร่ ปลูกไม้ผลผสมผสานเพื่อให้มีรายได้ตลอดปี แบ่งปลูกพืชหลักๆ เช่น มะนาวแป้นดกพิเศษกำแพงเพชร 500 ต้น มะยงชิด 250 ต้น (ละมุด 150 ต้น โดยแบ่งเนื้อที่ เพียง 2 ไร่ ปลูกห่าง 4 เมตร) มะขามป้อม 70 ต้น มีไม้ผลทั้งหมด 15 อย่าง อย่างละ 50 ต้น โดยประมาณ ทำให้มีรายได้หมุนเวียนตลอดปี อาจารย์วิเชียร บุญเกิด กล่าวกับผู้เขียนว่า “กว่าจะถึงวันนี้ก็ลองผิดลองถูกมามากมาย แต่ด้วยความมุ่งมั่นและต่อสู้ อดทน ปัญหามีไว้แก้ ที่สวนเป็นเหมือนตำราเล่มใหญ่และอาจารย์ใหญ่ที่ทรงพลัง ที่อ่านไม่มีวันหมด” ตอนนี้จะกล่าวถึงเรื่องเคล็ดลับการปลูกละมุดยักษ์ให้ประสบความสำเร็จ และลูกมีขนาดเท่าๆ กันทั้งสวน ภายในสวนอันร่มรื่น เต็มไปด้วยไม้ผลนานาชนิด ผลิตผลจากสวนของอาจารย์เป็นที่กล่าวขานของคนทั่วไปว่า ถ้าผลผลิตมาจากสวนสุวรรณีปรางทองนั้น นำไปเป็นของฝากได้เลย รับรองจากชื่อเสียงของเจ้าของสวนที่มีการรับผิดชอบต่อลูกค้าสูงมาก “เราต้อง
ชื่อภาษาอังกฤษ : Sapodilla ชื่อวิทยาศาสตร์ : Acharas zapota วงศ์ : SAPOTACEAE “อารมณ์เสีย อย่าปล่อยให้เสีย ต้องเคี้ยวชิกเคล็ท” ยังพอจำสโลแกนนี้ได้ไหมครับ ใครจำได้บ้างเอ่ย จำได้แสดงว่าต้องเป็นวัยรุ่นตอนปลายยุค ’70 แน่ๆ ทราบไหมครับว่า หมากฝรั่ง นั้นทำมาจากอะไร นี่เลย ยางละมุดนี่แหละเป็นส่วนประกอบสำคัญของหมากฝรั่งที่พวกเราชอบเคี้ยวเล่นกันนั่นเอง ละมุด เดิมเป็นไม้แถบอเมริกากลาง เม็กซิโก และหมู่เกาะอินเดียตะวันตก และคงจะมีการนำเข้ามาปลูกในบ้านเรานานกว่าร้อยปีแล้ว แต่ในไทยเราก็ยังมีละมุดพันธุ์พื้นเมืองอยู่แล้ว เป็นพันธุ์ชนิดผลเล็ก เรียกว่า ละมุดสีดา ส่วน ละมุดฝรั่ง นั้น ผลใหญ่กว่ามาก ผลกลมรี แล้วแต่ชนิดของพันธุ์ เท่าที่ทราบ มีไม่น้อยกว่า 6 พันธุ์ สาลี่ มะฝ่อ กระสวย ไข่ห่าน ฝาชี และพันธุ์มะกอก แต่ที่นิยมปลูกกัน มีเพียง 2 พันธุ์ คือ มะกอก กับ ไข่ห่าน พันธุ์มะกอก ชื่อก็บอกอยู่ในตัวแล้วว่า ผลเล็ก รูปร่างรีๆ คล้ายผลมะกอก ใบแคบ ยาว สีเขียวเข้ม เวลาสุก เนื้อสีน้ำตาลแดง เนื้อละเอียด กรอบ หวาน มีความแข็งมากกว่าพันธุ์ไข่ห่าน ชาวสวนรุ่นเก่ามีเทคนิคง่ายๆ ที่ทำให้รสชาติของละมุดหวาน หอม นุ่มนวล ละม
ผลไม้ที่เป็นไม้ยืนต้นอีกชนิด พบว่าปลูกทั่วประเทศไทย แต่ไม่ค่อยได้พบเห็นกันบ่อยนัก คือ ละมุด ทั้งที่ว่ากันว่า ละมุด เป็นผลไม้ชนิดหนึ่งที่นิยมรับประทาน เพราะเป็นผลไม้ที่มีรสหวาน มีกลิ่นหอม มีน้ำตาลสูง แต่อุดมไปด้วยวิตามินเอ วิตามินซี ธาตุแคลเซียม และ ธาตุฟอสฟอรัส ในตลาดผลไม้เมืองไทย แม้จะเดินเข้าออกในทุกวัน ทุกฤดูกาล ก็อาจไม่ได้เห็นผลไม้ชนิดนี้วางอยู่บนแผง จนเกือบลืมไปแล้วว่ายังมีอยู่ อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา เป็นอำเภอหนึ่งที่ขึ้นชื่อว่า มีละมุดอร่อยที่สุดของประเทศ เรียกติดปากกันว่า ละมุดบางกล่ำ (ภาคใต้เรียกละมุด ว่า ลูกสวา) แต่ปัจจุบันมีผลไม้อีกมากมายหลายชนิด ขึ้นแท่นผลไม้ชื่อดังของจังหวัดไปแล้ว ทำให้ล่าสุด ผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา อนุมัติงบประมาณส่งเสริมการปลูกละมุดในพื้นที่อำเภอบางกล่ำอย่างจริงจัง เพื่อให้ชื่อเสียงละมุดบางกล่ำ กลับมารุ่งเรืองเช่นอดีต สวนที่ได้ชื่อว่า เป็นสวนที่มีละมุดผลใหญ่ รสชาติดี กว่าละมุดในละแวกใกล้เคียงทั้งหมด คือ สวนของคุณจู้ฮ่อง เจริญแสง และคุณจำเนียน เจริญแสง สองสามีภรรยา คุณจู้ฮ่อง ฟื้นความทรงจำเกี่ยวกับการปลูกละมุดให้ฟังว่า เขาเติบโตมากับสวนละมุด ตั้งแต่จำค
ผลไม้ที่เป็นไม้ยืนต้นอีกชนิด พบว่าปลูกทั่วประเทศไทย แต่ไม่ค่อยได้พบเห็นกันบ่อยนัก คือ ละมุด ทั้งที่ว่ากันว่า ละมุด เป็นผลไม้ชนิดหนึ่งที่นิยมรับประทาน เพราะเป็นผลไม้ที่มีรสหวาน มีกลิ่นหอม มีน้ำตาลสูง แต่อุดมไปด้วยวิตามินเอ วิตามินซี ธาตุแคลเซียม และ ธาตุฟอสฟอรัส ในตลาดผลไม้เมืองไทย แม้จะเดินเข้าออกในทุกวัน ทุกฤดูกาล ก็อาจไม่ได้เห็นผลไม้ชนิดนี้วางอยู่บนแผง จนเกือบลืมไปแล้วว่ายังมีอยู่ อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา เป็นอำเภอหนึ่งที่ขึ้นชื่อว่า มีละมุดอร่อยที่สุดของประเทศ เรียกติดปากกันว่า ละมุดบางกล่ำ (ภาคใต้เรียกละมุด ว่า ลูกสวา) แต่ปัจจุบันมีผลไม้อีกมากมายหลายชนิด ขึ้นแท่นผลไม้ชื่อดังของจังหวัดไปแล้ว ทำให้ล่าสุด ผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา อนุมัติงบประมาณส่งเสริมการปลูกละมุดในพื้นที่อำเภอบางกล่ำอย่างจริงจัง เพื่อให้ชื่อเสียงละมุดบางกล่ำ กลับมารุ่งเรืองเช่นอดีต สวนที่ได้ชื่อว่า เป็นสวนที่มีละมุดผลใหญ่ รสชาติดี กว่าละมุดในละแวกใกล้เคียงทั้งหมด คือ สวนของคุณจู้ฮ่อง เจริญแสง และคุณจำเนียน เจริญแสง สองสามีภรรยา คุณจู้ฮ่อง ฟื้นความทรงจำเกี่ยวกับการปลูกละมุดให้ฟังว่า เขาเติบโตมากับสวนละมุด ตั้งแต่จำค
ผลไม้ที่เป็นไม้ยืนต้นอีกชนิด พบว่าปลูกทั่วประเทศไทย แต่ไม่ค่อยได้พบเห็นกันบ่อยนักคือ ละมุด ทั้งที่ว่ากันว่า ละมุด เป็นผลไม้ชนิดหนึ่งที่นิยมรับประทาน เพราะเป็นผลไม้ที่มีรสหวาน มีกลิ่นหอม มีน้ำตาลสูง แต่อุดมไปด้วยวิตามินเอ วิตามินซี ธาตุแคลเซียม และธาตุฟอสฟอรัส ในตลาดผลไม้เมืองไทย แม้จะเดินเข้าออกในทุกวัน ทุกฤดูกาล ก็อาจไม่ได้เห็นผลไม้ชนิดนี้วางอยู่บนแผง จนเกือบลืมไปแล้วว่ายังมีอยู่ อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา เป็นอำเภอหนึ่งที่ขึ้นชื่อว่า มีละมุดอร่อยที่สุดของประเทศ เรียกติดปากกันว่า ละมุดบางกล่ำ (ภาคใต้เรียกละมุดว่า ลูกสวา) แต่ปัจจุบันมีผลไม้อีกมากมายหลายชนิดขึ้นแท่นผลไม้ชื่อดังของจังหวัดไปแล้ว ทำให้ล่าสุด ผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา อนุมัติงบประมาณส่งเสริมการปลูกละมุดในพื้นที่อำเภอบางกล่ำอย่างจริงจัง เพื่อให้ชื่อเสียงละมุดบางกล่ำกลับมารุ่งเรืองเช่นอดีต สวนที่ได้ชื่อว่า เป็นสวนที่มีละมุดผลใหญ่ รสชาติดีกว่าละมุดในละแวกใกล้เคียงทั้งหมดคือ สวนของ คุณจู้ฮ่อง เจริญแสง และ คุณจำเนียน เจริญแสง สองสามีภรรยา คุณจู้ฮ่อง ฟื้นความทรงจำเกี่ยวกับการปลูกละมุดให้ฟังว่า เขาเติบโตมากับสวนละมุด ตั้งแต่จำความได
วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2560 ที่บ้าน หมู่ที่ 1 ตำบลศาลเจ้าโรงทอง อำเภอวิเศษชัยชาญ จังหวัดอ่างทอง พบกับนายพิสัย ปิ่นวิเศษ อายุ 50 ปี ซึ่งเป็นเจ้าของสวนละมุดยักษ์สาลี่ ที่มีสวนเดียวในจังหวัดอ่างทอง ซึ่งภายในสวนมีต้นละมุดยักษ์สาลี่ อยู่ประมาณ 30 กว่าต้น ซึ่งแต่ละต้นเริ่มออกผลเป็นจำนวนมาก ซึ่งผลของละมุดยักษ์สาลี่ มีขนาดใหญ่มาก นายพิสัย เล่าให้ผู้สื่อข่าวฟังว่า เริ่มต้นของการปลูกละมุดยักษ์สาลี่ นั้น ตนได้ไปเที่ยวงามเกษตรที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เมื่อ 2 ปีที่ผ่านมา และได้ซื้อกิ่งละมุดยักษ์สาลี่ มาจำนวน 12 กิ่ง ในราคากิ่งละ 500 บาท เพื่อนำมาปลูกที่สวนของตนเอง โดยปลูกทิ้งไว้รดน้ำเช้าเย็นไม่ค่อยได้ใส่ปุ๋ยเท่าไหร่ ซึ่งปลูกมาได้ 2 ปี ต้นละมุดยักษ์สาลี่ เริ่มออกดอกออกผล ซึ่งลูกใหญ่มาก ตนเองพึ่งเก็บไปแล้ว 1 รุ่น ซึ่งขายในราคากิโลกรัมละ 50 บาท แต่ถ้าลูกเล็กลงมาหน่อยก็จะอยู่ที่ราคากิโลกรัมละ 35 บาท ซึ่งรสชาติของละมุดยักษ์สาลี่ นั้นมีรสชาติหวานกรอบ ซึ่งที่สวนของตนเองขนาดละมุดยักษ์สาลี่ ใหญ่สุดก็ประมาณ 3 ลูกต่อ 1 กิโลกรัม ซึ่งผลละมุดยักษ์สาลี่ ออกมาชุดแรกก็จำหน่ายหมดเรียบร้อย ซึ่งตอนนี้อยู่ที่ต้นเป็นรุ่นท