ลิ้นมังกร
สภาวะฝุ่นในอากาศนั้น เกิดจากปัจจัยหลายอย่างและเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงได้ยาก วิธีการหนึ่งที่จะช่วยควบคุมคุณภาพอากาศให้เหมาะสม คือการปลูกต้นไม้ช่วยกรองอากาศและดักจับฝุ่นละอองในอากาศ ซึ่งเป็นการลงทุนน้อยแต่ได้ผลในระยะยาว ในต่างประเทศที่มีปัญหาเกี่ยวกับฝุ่นละอองขนาดเล็ก มีการศึกษาจำนวนมากเกี่ยวกับพืชที่ใช้ในการดักจับฝุ่น อย่างในประเทศจีน สหรัฐอเมริกา และหลาย ๆ ประเทศในทวีปยุโรป โดยการศึกษาพบว่า ต้นไม้สามารถดับจับฝุ่นได้ร้อยละ 10 – 90 ขึ้นอยู่กับชนิดของพืช กรมอนามัยได้แนะนำไม้ประดับ 22 ชนิด ที่เปรียบเสมือน “เครื่องฟอกอากาศธรรมชาติ” เนื่องจากไม้ประดับจะดึงดูดจุลินทรีย์ให้มาอยู่บริเวณราก และย่อยสลายโครงสร้างอินทรีย์สารที่ซับซ้อนได้ อีกทั้งใบของต้นไม้ยังสามารถดูดซับสารอินทรีย์ที่เป็นก๊าซ และย่อยหรือถ่ายโอนของเสียไปยังรากเพื่อใช้เป็นอาหารสำหรับจุลินทรีย์ สำหรับไม้ประดับ 22 ชนิด ที่มีความสามารถสูงในการดูดสารพิษ มีดังนี้ 1. หมากเหลือง เป็นพืชตระกูลปาล์มที่ปลูกง่าย โตเร็ว ชอบแสงแดดจัด แต่ปลูกภายในอาคารได้ ต้องการน้ำมาก ชอบความชื้นสูง สามารถช่วยผู้ป่วยที่เป็นหวัด หรือมีอาการไซนัส 2. จั๋ง เป็นพืชตระกู
ชื่ออื่นๆ ผักลิ้นห่าน หนุ่นดิน มะยมใบพาย อะจีเจ้า นอช่วยไน้ ลีเดาะห์ นาฆอ (Lidahnaga) เล่งจิเช่า เลิงจิเฉ่า หลงลี่เยียะ หลงซื่อเยียะ เหล่งหลี่เฮียะ เหล่งจิเฮี๊ยะ Dragon’s Tongue ลักษณะทั่วไป ไม้พุ่มเตี้ย สูงประมาณ 1-1.5 ฟุต แตกสาขาในระดับผิวดิน ใบเดี่ยวเรียงสลับตามข้อต้น ใบรูปไข่หรือรูปมนรี โคนใบสอบแหลมเข้าหากัน ปลายใบมน ขอบใบเรียบ ดอกช่อออกตามซอกใบและลำต้น มีขนาดเล็กสีแดงม่วงหรือสีม่วงเข้ม ผลคล้ายเมล็ดถั่ว ก้านสั้น และมีกลีบเลี้ยงที่ขยายตัวหุ้มเอาไว้ การขยายพันธุ์ เพาะเมล็ด ปักชำ ลิ้นมังกร ยาแก้ร้อนใน สมัยอาม่า ลิ้นมังกร เป็นสมุนไพรที่สมัยก่อนคนจีนนิยมปลูกเป็นไม้กระถางประดับในบ้าน เอาไว้ต้มดื่มแก้ร้อนใน แก้ไอ ในตำรายาจีนกล่าวว่า ลิ้นมังกรมีรสสุขุม ใช้เป็นยาแก้ปอดร้อน ช่วยทำให้ปอดชุ่มชื่น บำรุงปอด แก้ไอแห้งๆ เจ็บคอ หลอดลมอักเสบเฉียบพลัน หอบหืด ไอเป็นเลือด เสียงแห้ง เป็นต้น ต้นลิ้นมังกร เป็นต้นไม้ที่จำได้ง่ายๆ ใบมนๆ สีใบไม่เขียวเข้ม ออกสีตุ่นๆ (เป็นคนละต้นกับไม้ประดับอีกชนิดหนึ่งที่ชื่อว่า ลิ้นมังกร เหมือนกัน แต่มีชื่อพฤกษศาสตร์ว่า Sansevieria trifasciata ซึ่งใบมีลักษณะเรียวยาวคล้ายหอก
เมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ นพ.ดนัย ธีวันดา รองอธิบดีกรมอนามัย กล่าวว่า การปลูกต้นไม้เป็นอีกหนึ่งตัวช่วยในการดักจับสารพิษในอากาศ และสามารถป้องกันฝุ่นละออง เพราะส่วนต่าง ๆ ของต้นไม้ โดยเฉพาะใบ สามารถช่วยดักฝุ่นได้ดี ซึ่งฝุ่นละอองที่ลอยอยู่บนอากาศจะผ่านต้นไม้ติดค้างอยู่บนผิวใบ โดยพืชตระกูลสนจะช่วยดักจับฝุ่นได้ เพราะโครงสร้างของใบมีความละเอียดซับซ้อน แต่หากเป็นไม้เลื้อยจะดักจับฝุ่นได้มากกว่าไม้อื่น เพราะมีพื้นผิวใบมากกว่าต้นไม้อื่น ด้วยลักษณะใบที่เรียวเล็ก ชื้น หยาบ มีขน หรือผิวใบที่เหนียวจะทำให้ฝุ่นเกาะติดใบได้ดี ส่วนลำต้น กิ่ง ก้าน ที่มีโครงสร้างพันกันอย่างสลับซับซ้อนมีส่วนช่วยดักจับฝุ่นได้เช่นกัน อาทิ ไทรเกาหลี คริสตินา โมก ตะขบ การเวก พวงครามออสเตรเลีย อโศกอินเดีย และสนฉัตร แต่ไม่ควรปลูกไม้ผลัดใบ เพราะบางช่วงไม่มีใบดักจับฝุ่น ก่อนปลูกจึงต้องเลือกชนิดต้นไม้ให้เหมาะสมกับสภาพหรือบริเวณที่จะปลูก “สำหรับไม้ประดับภายในอาคารหรือในบ้านให้เลือกที่สามารถปลูกได้ง่าย อาทิ พลูด่าง ลิ้นมังกร กล้วยไม้พันธุ์หวาย เบญจมาศ เยอร์บีร่า เสน่ห์จันทน์แดง ที่ช่วยดูดสารพิษได้มาก ซึ่งการปลูกต้นไม้ 1 ต้น ช่วยดูดซั
คนไทยโบราณเชื่อว่า บ้านใดปลูกต้นลิ้นมังกรไว้ประจำบ้าน จะช่วยป้องกันอันตรายจากภายนอกได้ เพราะบางคนเรียก ลิ้นมังกรอีกชื่อหนึ่งว่า หอกพระอินทร์ ซึ่งเป็นอาวุธชนิดหนึ่งของพระอินทร์ ที่ใช้ในการต่อสู้และปกป้องศัตรูจากภายนอก ดังนั้น ลิ้นมังกร จึงเป็นไม้ที่มีความศักดิ์สิทธิ์ เพราะเป็นไม้ที่มีความสำคัญของพระอินทร์ในสมัยพุทธกาล นอกจากนี้ ลิ้นมังกร ยังเป็นไม้ฟอกอากาศที่องค์การนาซ่าได้นำมาทดลองวิจัย ซึ่งก็ได้ผลวิจัยว่า “ต้นลิ้นมังกร” จะมีลักษณะพิเศษกว่าพันธุ์ไม้ชนิดอื่นคือ จะคายก๊าซออกซิเจนในเวลากลางคืน ส่วนกลางวันจะปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์แทน ทำให้สามารถปลูกต้นลิ้นมังกรในบ้านได้โดยไม่มีอันตรายต่อคนในบ้าน ลักษณะทั่วไป ใบเดี่ยว ขนาดเล็กยาว ดอกออกเป็นช่อ ดอกย่อยสีชมพู เกสรตัวผู้สีส้ม เป็นยาสมุนไพรใช้แก้แมลงสัตว์กัดต่อย ในทางไสยศาสตร์ เชื่อว่ามีฤทธิ์ทางเมตตามหานิยมและคงกระพันชาตรี การดูแลรักษา ลิ้นมังกร เป็นไม้ประดับที่มีความเขียวสดใสตลอดทั้งปี ลิ้นมังกรแคระปลูกเลี้ยงง่าย ทนต่อสภาพแวดล้อมที่แห้งแล้ง จึงไม่ต้องดูแลรักษามาก แต่ต้องได้รับแสงเพียงพอ สามารถปลูกได้ทั้งภายในอาคารบ้านเรือนและกลาง
สมาคมไม้ประดับแห่งประเทศไทย กระทุ้งกระทรวงเกษตรฯ เร่งยื่นคัดค้านต่างชาติฉกจดสิทธิบัตร”ลิ้นมังกร” เป็นพันธุ์พืชในสหรัฐ-อียูซ้ำรอย “จัสมินไรซ์” ผู้ประกอบการหวั่นไทยสูญเสียตลาดส่งออกไม้ประดับเบอร์ 2 รศ.ดร.สุรวิช วรรณไกรโรจน์ นายกสมาคมไม้ประดับแห่งประเทศไทย เปิดเผย “ประชาชาติธุรกิจ” ว่า ขณะนี้สมาคมได้ทำหนังสือถึงกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ให้เร่งดำเนินการปกป้องสิทธิพันธุ์พืช “ต้นลิ้นมังกร” (Sansevieria cylindrica “Boncel”) ซึ่งพันธุ์พืชพื้นเมืองทั่วไปของไทย หลังจาก Johannes Wilhelmus Maria Scheffers ชาวเนเธอร์แลนด์ได้ยื่นขอจดสิทธิบัตรพันธุ์พืชนี้ที่สำนักงาน Community Plant Variety Office (CPOV) ในสหภาพยุโรปตั้งแต่เดือนกันยายน 2558 จากก่อนหน้านี้ที่บุคคลดังกล่าวได้ยื่นจดคุ้มครองสิทธิบัตรพันธุ์พืชนี้ไปแล้วในสหรัฐ (Sansevieria cylindrica “SAN201202”) เมื่อเดือนกันยายน 2557 ส่งผลกระทบทำให้ผู้ส่งออกไทยไม่สามารถส่งออกลิ้นมังกรไปยังตลาดสหรัฐได้ ขณะที่การเพิกถอนสิทธิบัตรทำได้ยาก และมีค่าใช้จ่ายสูงทำให้ไทยต้องเสียตลาดส่งออกพันธุ์พืช