สารต้านอนุมูลอิสระ
“ความขม” ของพืชหลายชนิดที่นิยมลิ้มรสกัน แล้วแต่คนชอบ ขมมากขมน้อย หรือบางคนไม่ชอบขมเลย คงจะให้คำตอบว่า ชีวิตนี้ก็ขมมากพอแล้วไม่อยากเติมความขมเข้าตัวเองอีก ก็ว่ากันไป นิยมขมมากหน่อยก็ต้องเจอแบบ คนอื่นไม่กล้ากิน กัดทีขมติดลิ้น ซึมเข้าประสาทลิ้มรสแบบไม่ต้องกลืน เช่น บอระเพ็ดแสนเข็ดขม ฟ้าทลายโจรก็สุดขม หนานเฉาเหว่ย (ป่าช้าหมอง) ก็ที่สุด บางคนแม้แต่ขมผลมะแว้ง ก็เมินหน้าหนีแล้ว แต่ที่แนะนำวันนี้คือ ของขมอร่อย มีขมหลายระดับ แต่ถ้ารู้จักทำกินจะขมแบบพึงใจ ขมของสะเดาเป็นขมที่ตบท้ายด้วยหวาน ที่จริงสะเดามีความขมหลายระดับ ตั้งแต่ขมจัด ขมมาก ขมปานกลาง ขมน้อย จนถึงไม่ขมแต่มีรสจืดปนมัน คือแต่ละต้น แต่ละสายพันธุ์ มีความแตกต่างกัน คนซื้อหาสะเดาจากตลาด หมดโอกาสเลือก หรือจะใช้วิธีชิมเอา ก็ลองหาวิธีดู ตอนนี้ที่ตลาดมีขายเป็นกำเป็นมัด มีทั้งสด และลวกน้ำร้อนแล้ว ติดตามต่อไป จะแนะนำวิธีลดความขมของสะเดา ลดได้จริงแบบเอาที่สบายใจได้ครับ สะเดา ณ เวลานี้ไม่กล้ายืนยันว่ามีถิ่นต้นกำเนิดมาจากไหน เข้ามาในประเทศไทยตั้งแต่เมื่อไร เพราะมีข้อมูลไม่ชัดเจนนัก แต่มีในบันทึกให้ศึกษาได้ว่า คนสยามนิยมกินสะเดาเป็นผักแก
เรียน คุณหมอเกษตร ทองกวาว ที่นับถือ ผมยังสับสนเกี่ยวกับสารต้านอนุมูลอิสระ ว่าทำหน้าที่อย่างไร และทราบว่ามีประโยชน์กับร่างกาย แต่ทำประโยชน์อย่างไรไม่ทราบ มีการประชาสัมพันธ์ว่า มีมากในข้าว ชนิดที่มีสีเข้มนั้นเป็นจริงหรือไม่ ขอให้คุณหมอเกษตรช่วยแนะนำข้าวสีม่วงที่มีสารต้านอนุมูลอิสระสูงให้ทราบด้วยครับ แล้วผมจะติดตามอ่านในนิตยสารเทคโนโลยีชาวบ้านต่อไปครับ ผมถือโอกาสขอบคุณคุณหมอเกษตร ทองกวาว มา ณ โอกาสนี้ ขอแสดงความนับถืออย่างสูง วิวัฒน์ ศิริวงศ์วานิช กรุงเทพฯ ตอบ คุณวิวัฒน์ ศิริวงศ์วานิช สารต้านอนุมูลอิสระ (Antioxidant) เป็นสารที่ทำหน้าที่ชะลอการออกซิเดชั่น (Oxidation) ในเซลล์สิ่งมีชีวิต รวมทั้งมนุษย์เรา จึงส่งผลทำให้เซลล์แก่ตัวช้าลงตามไปด้วย นอกจากนี้ ยังช่วยยับยั้งการเจริญเติบโตของเนื้องอกในร่างกาย ลดความเสี่ยงจากการเกิดโรคมะเร็ง โรคเบาหวาน และป้องกันอาการเส้นเลือดตีบ สารต้านอนุมูลอิสระ มีมากในพืชผักชนิดต่างๆ โดยเฉพาะในหัวผักกาดม่วง มะเขือม่วง ข้าวโพดสีม่วง ข้าวสีม่วง และพืชผักสีม่วงอื่นๆ ในพืชผักสีม่วงจะอุดมไปด้วยสารแอนโธไซยานิน (Anthocyanin) ในตัวของแอนโธไซยานิน มีส่วนประกอบของวิตามินเอ
เรียน คุณหมอเกษตร ทองกวาว ที่นับถือ ผมยังสับสนเกี่ยวกับสารต้านอนุมูลอิสระ ว่าทำหน้าที่อย่างไร และทราบว่ามีประโยชน์กับร่างกาย แต่ทำประโยชน์อย่างไรไม่ทราบ มีการประชาสัมพันธ์ว่า มีมากในข้าว ชนิดที่มีสีเข้มนั้นเป็นจริงหรือไม่ ขอให้คุณหมอเกษตรช่วยแนะนำข้าวสีม่วงที่มีสารต้านอนุมูลอิสระสูงให้ทราบด้วยครับ แล้วผมจะติดตามอ่านในนิตยสารเทคโนโลยีชาวบ้านต่อไปครับ ผมถือโอกาสขอบคุณคุณหมอเกษตร ทองกวาว มา ณ โอกาสนี้ ขอแสดงความนับถืออย่างสูง วิวัฒน์ ศิริวงศ์วานิช กรุงเทพฯ ตอบ คุณวิวัฒน์ ศิริวงศ์วานิช สารต้านอนุมูลอิสระ (Antioxidant) เป็นสารที่ทำหน้าที่ชะลอการออกซิเดชั่น (Oxidation) ในเซลล์สิ่งมีชีวิต รวมทั้งมนุษย์เรา จึงส่งผลทำให้เซลล์แก่ตัวช้าลงตามไปด้วย นอกจากนี้ ยังช่วยยับยั้งการเจริญเติบโตของเนื้องอกในร่างกาย ลดความเสี่ยงจากการเกิดโรคมะเร็ง โรคเบาหวาน และป้องกันอาการเส้นเลือดตีบ สารต้านอนุมูลอิสระ มีมากในพืชผักชนิดต่างๆ โดยเฉพาะในหัวผักกาดม่วง มะเขือม่วง ข้าวโพดสีม่วง ข้าวสีม่วง และพืชผักสีม่วงอื่นๆ ในพืชผักสีม่วงจะอุดมไปด้วยสารแอนโธไซยานิน (Anthocyanin) ในตัวของแอนโธไซยานิน มีส่วนประกอบของวิตามินเอ
ปกติมังคุดที่เคยเห็นๆ กันก็มีแต่เนื้อสีขาว แต่มีคนหัวใสแปลี่ยนมันให้กลายเป็นเนื้อสีแดง เพิ่มมูลค่าสร้างรายได้มหาศาล ผู้ส่งออกคือ บริษัท อินฟินิท ฟรุ๊ต จำกัด ผู้ส่งออกผลไม้แช่แข็งรายใหญ่ในจังหวัดจันทบุรี มีมูลค่าการส่งออกต่อปีราว 4,000-5,000 ตัน ซึ่งไม่เพียงแต่ส่งออกผลไม้สดเท่านั้น อินฟินิท ฟรุ๊ต ยังต่อยอดความคิดกับการแปรรูปผลไม้ให้ได้มูลค่าเพิ่มมากขึ้น ได้แก่ “มังคุดเนื้อสีแดง” คุณดวงเดือน เชิงเทิน กรรมการผู้จัดการ บริษัท อินฟินิท ฟรุ๊ต จำกัด เล่าถึงแนวคิดกับการต่อยอดผลิตภัณฑ์ผลไม้ว่า เกิดจากความบังเอิญก็ว่าได้ เพราะในราวปี 2553-2554 ปัญหาราคามังคุดตกต่ำ จนเกิดภาวะล้นตลาด ส่งผลต่อเกษตรกรผู้ปลูก บริษัทจึงเข้าไปช่วยเหลือด้วยการรับซื้อวันละนับพันตัน เพื่อเข้าสู่กระบวนการแช่เยือกแข็ง หรือเรียกว่า Air Blast จากกระบวนการแช่เยือกแข็งและระหว่างรอขนส่ง ปรากฏว่าจากมังคุดเนื้อสีขาว กลายเป็นสีชมพูแทรกเข้ามา “ตอนที่เปิดเนื้อมังคุดดูนึกว่าเสียทั้งตู้แน่ๆ จึงเข้าไปปรึกษาผู้มีความรู้หลายท่าน และได้ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี พร้อมแรงสนับสนุนจาก สนช. หรือ สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์กา