หว้า
หว้า ชาวฮินดูเรียกว่า จามาน หรือ จามูน ชื่อภาษาอังกฤษคือ จัมโบลาน (Jambolan) เป็นพันธุ์ไม้พวกต้นชมพู่ มีมากทั้งในอินเดีย พม่า ไทย มาเลเซีย ตลอดจนฟิลิปปินส์ โดยมากหว้ามีผลเล็กสีม่วงดำ แต่ในบางแห่ง เช่น ฟิลิปปินส์ มีลูกเท่าไข่นกพิราบ ในพม่านั้น ต้นหว้าถือว่าเป็นไม้มงคลในเรื่องความสำเร็จและชัยชนะ ด้วยชื่อว่าชมพูทวีป หรือดินแดนแห่งไม้หว้านั้น เป็นแผ่นดินอันเป็นแดนกำเนิดของพระพุทธศาสนาและพระบรมศาสดานั่นเอง ต้นหว้า เป็นต้นไม้ที่บอกว่า ปีไหนฝนฟ้าจะแล้งหรือน้ำจะมาก ชมพูทวีป หมายถึง ประเทศอินเดียในปัจจุบัน สมัยพุทธกาลเรียกดินแดนแถบนี้ว่า ชมพูทวีป ชมพู แปลว่า ไม้หว้า ชมพูทวีปคือ ดินแดนแห่งไม้หว้า ปีไหนลูกหว้าออกลูกดก แสดงว่าปีนั้นฝนดี ปีไหนลูกหว้าไม่ดก แสดงว่าปีนั้นแล้ง คนอินเดียใช้ “ต้นหว้า” ในการพยากรณ์ฝนฟ้าเรื่องการเพาะปลูกมาแต่ครั้งพุทธกาล หว้าเกี่ยวข้องกับพระพุทธเจ้าคือ ต้นหว้าเกี่ยวข้องกับพระพุทธเจ้าอยู่ 2 เหตุการณ์ ได้แก่ 1. ตอนตามเสด็จพระราชบิดา ในพระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ เมื่อครั้นเจ้าชายสิทธัตถะมีพระชนมายุ 8 ปี ได้เสด็จไปพร้อมกับพระเจ้าสุทโธทนะ พระราชบิดาในพระราชพิ
หว้า ชาวฮินดู เรียกว่า จามาน หรือ จามูน ชื่อภาษาอังกฤษคือ จัมโบลาน (Jambolan) เป็นพันธุ์ไม้พวกต้นชมพู่ มีมากทั้งในอินเดีย พม่า ไทย มาเลเซีย ตลอดจนฟิลิปปินส์ โดยมากหว้ามีผลเล็กสีม่วงดำ แต่ในบางแห่ง เช่น ฟิลิปปินส์ มีลูกเท่าไข่นกพิราบ ในพม่านั้น ต้นหว้าถือว่าเป็นไม้มงคลในเรื่องความสำเร็จและชัยชนะ ด้วยชื่อว่าชมพูทวีป หรือดินแดนแห่งไม้หว้านั้น เป็นแผ่นดินอันเป็นแดนกำเนิดของพระพุทธศาสนาและพระบรมศาสดานั่นเอง ต้นหว้า เป็นต้นไม้ที่บอกว่า ปีไหนฝนฟ้าจะแล้งหรือน้ำจะมาก ชมพูทวีป หมายถึง ประเทศอินเดียในปัจจุบัน สมัยพุทธกาลเรียกดินแดนแถบนี้ว่า ชมพูทวีป ชมพู แปลว่า ไม้หว้า ชมพูทวีปคือ ดินแดนแห่งไม้หว้า ปีไหนลูกหว้าออกลูกดก แสดงว่าปีนั้นฝนดี ปีไหนลูกหว้าไม่ดก แสดงว่าปีนั้นแล้ง คนอินเดียใช้ “ต้นหว้า” ในการพยากรณ์ฝนฟ้าเรื่องการเพาะปลูกมาแต่ครั้งพุทธกาล หว้าเกี่ยวข้องกับพระพุทธเจ้าคือ ต้นหว้าเกี่ยวข้องกับพระพุทธเจ้าอยู่ 2 เหตุการณ์ ได้แก่ 1. ตอนตามเสด็จพระราชบิดา ในพระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ เมื่อครั้นเจ้าชายสิทธัตถะมีพระชนมายุ 8 ปี ได้เสด็จไปพร้อมกับพระเจ้าสุทโธทนะ พระราชบิดาในพระราชพิธีจรดพระนัง
หว้า เป็นพันธุ์ไม้พระราชทานเพื่อปลูกเป็นมงคลแก่จังหวัดเพชรบุรี ซึ่งมีคำขวัญประจำจังหวัดดังนี้คือ “เขาวังคู่บ้าน ขนมหวานเมืองพระ เลิศล้ำศิลปะ แดนธรรมะ ทะเลงาม” แต่ละท่อนของคำขวัญมีความหมาย ดังนี้ เขาวังคู่บ้าน เป็นโบราณสถานเก่าแก่คู่เมืองเพชรบุรี อยู่บนยอดเขาใหญ่ 3 ยอด เดิมเรียกว่า “เขาสมน” พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 ทรงพอพระราชหฤทัยที่จะสร้างพระราชวังสำหรับเสด็จแปรพระราชฐานขึ้นบนยอดเขาแห่งนี้ จึงโปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) ซึ่งในขณะนั้นเป็นพระสมุหกลาโหมเป็นแม่กองก่อสร้างจนสำเร็จเรียบร้อย เมื่อ ปี พ.ศ. 2403 ได้พระราชทานนามว่า พระนครคีรี แต่ชาวเมืองเพชรเรียกกันติดปากว่า “เขาวัง” สืบมาจนบัดนี้ พระนครคีรี มีพระที่นั่ง พระตำหนัก วัด และกลุ่มอาคารต่างๆ ส่วนใหญ่เป็นสถาปัตยกรรมตะวันตกแบบนิโอคลาสสิกผสมสถาปัตยกรรมจีน ขนมหวานเมืองพระ ขนมหวาน เป็นสิ่งที่สร้างชื่อเสียงให้กับเพชรบุรี คนทั่วไปรู้จักขนมหม้อแกงเมืองเพชร ตลอดจนขนมหวานหลากหลายชนิด ส่วนเคล็ดลับของความอร่อยนั้นมาจาก “น้ำตาลโตนด” ผลผลิตจากต้นตาลซึ่งในอดีตปลูกกันมาก แต่ปัจจุบันนั้นการปลูกต้นตาลในเพชร
หว้า เป็นพันธุ์ไม้พระราชทานเพื่อปลูกเป็นมงคลแก่จังหวัดเพชรบุรี ซึ่งมีคำขวัญประจำจังหวัดดังนี้คือ “เขาวังคู่บ้าน ขนมหวานเมืองพระ เลิศล้ำศิลปะ แดนธรรมะ ทะเลงาม” แต่ละท่อนของคำขวัญมีความหมาย ดังนี้ เขาวังคู่บ้าน เป็นโบราณสถานเก่าแก่คู่เมืองเพชรบุรี อยู่บนยอดเขาใหญ่ 3 ยอด เดิมเรียกว่า “เขาสมน” พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 ทรงพอพระราชหฤทัยที่จะสร้างพระราชวังสำหรับเสด็จแปรพระราชฐานขึ้นบนยอดเขาแห่งนี้ จึงโปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) ซึ่งในขณะนั้นเป็นพระสมุหกลาโหมเป็นแม่กองก่อสร้างจนสำเร็จเรียบร้อย เมื่อ ปี พ.ศ. 2403 ได้พระราชทานนามว่า พระนครคีรี แต่ชาวเมืองเพชร เรียกกันติดปากว่า “เขาวัง” สืบมาจนบัดนี้ พระนครคีรี มีพระที่นั่ง พระตำหนัก วัด และกลุ่มอาคารต่างๆ ส่วนใหญ่เป็นสถาปัตยกรรมตะวันตกแบบนิโอคลาสสิกผสมสถาปัตยกรรมจีน ขนมหวานเมืองพระ ขนมหวาน เป็นสิ่งที่สร้างชื่อเสียงให้กับเพชรบุรี คนทั่วไปรู้จักขนมหม้อแกงเมืองเพชร ตลอดจนขนมหวานหลากหลายชนิด ส่วนเคล็ดลับของความอร่อยนั้นมาจาก “น้ำตาลโตนด” ผลผลิตจากต้นตาลซึ่งในอดีตปลูกกันมาก แต่ปัจจุบันนั้นการปลูกต้นตาลในเพช
หว้า เป็นพันธุ์ไม้พระราชทานเพื่อปลูกเป็นมงคลแก่จังหวัดเพชรบุรี ซึ่งมีคำขวัญประจำจังหวัดดังนี้คือ “เขาวังคู่บ้าน ขนมหวานเมืองพระ เลิศล้ำศิลปะ แดนธรรมะ ทะเลงาม” แต่ละท่อนของคำขวัญมีความหมาย ดังนี้ เขาวังคู่บ้านเป็นโบราณสถานเก่าแก่คู่เมืองเพชรบุรี อยู่บนยอดเขาใหญ่ 3 ยอด เดิมเรียกว่า “เขาสมน” พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 ทรงพอพระราชหฤทัยที่จะสร้างพระราชวังสำหรับเสด็จแปรพระราชฐานขึ้นบนยอดเขาแห่งนี้ จึงโปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) ซึ่งในขณะนั้นเป็นพระสมุหกลาโหมเป็นแม่กองก่อสร้างจนสำเร็จเรียบร้อย เมื่อ ปี พ.ศ. 2403 ได้พระราชทานนามว่า พระนครคีรี แต่ชาวเมืองเพชรเรียกกันติดปากว่า “เขาวัง” สืบมาจนบัดนี้ พระนครคีรี มีพระที่นั่ง พระตำหนัก วัด และกลุ่มอาคารต่างๆ ส่วนใหญ่เป็นสถาปัตยกรรมตะวันตกแบบนิโอคลาสสิกผสมสถาปัตยกรรมจีน ขนมหวานเมืองพระ ขนมหวานเป็นสิ่งที่สร้างชื่อเสียงให้กับเพชรบุรี คนทั่วไปรู้จักขนมหม้อแกงเมืองเพชร ตลอดจนขนมหวานหลากหลายชนิด ส่วนเคล็ดลับของความอร่อยนั้นมาจาก “น้ำตาลโตนด” ผลผลิตจากต้นตาลซึ่งในอดีตปลูกกันมาก แต่ปัจจุบันนั้นการปลูกต้นตาลในเพชรบุ