เครือหมาน้อย
ชื่อวิทยาศาสตร์ Cissampelos pareira L. Var. hirsute (Buch. Ex DC.) Forman. ชื่อวงศ์ MENISPERMACEAE ชื่ออื่นๆ หมอน้อย (อุบลราชธานี) กรุงเขมา (กลาง นครศรีธรรมราช) ก้นปิด (ตะวันตกเฉียงใต้) ขงเขมา พระพาย (ภาคกลาง) เปล้าเลือด (แม่ฮ่องสอน) สีฟัน (เพชรบุรี) หมาน้อย (ชื่อเรียกตามท้องถิ่น) หมาน้อยขออนุญาตแทนตัวเองเรียกชื่อนี้ เพราะไม่ทราบจะแทนตัวด้วยอะไร ถ้าใช้ “หนู” ฟังดูเป็นเด็ก หรือหญิงสาว ถ้าแทนว่า “ฉัน” ก็ฟังเป็นผู้ใหญ่มาด “กร้าว” เกินไป เมื่อทุกๆ ท้องถิ่นเรียก “หมาน้อย” จึงตัดสินใจใช้ชื่อนี้ กลัวอยู่อย่างเดียวคือ เวลาชาวบ้านปรุง “ลาบหมาน้อย” คนที่เพิ่งได้ยินก็ตกใจว่า ฮ้า..! หมู่บ้านนี้ ใช้ “ลูกหมา” มาทำลาบเนื้อน้ำตกด้วยหรือ วัฒนธรรมการกินอาหารมีอยู่ทุกภาค เมนูอาหารอร่อย ถูกปรุงด้วยรสชาติถูกปากถูกใจตามท้องถิ่น แต่การเรียกชื่ออาหาร จะต้องมีคำอธิบายสำหรับบางภูมิภาค ใครๆ ก็ชอบอาหาร “รสแซ่บ” ลาบเนื้อ ลาบหมู ลาบเป็ด แต่มีเมนูอาหารพื้นบ้านชื่อแปลกของชาวอีสานที่ชื่อ “ลาบหมาน้อย” ทำให้ตัว “หมาน้อย” เองสะดุ้งเช่นกัน ช่วงแรกๆ ที่หมาน้อยได้ยินว่า คุณป้า คุณลุง จะทำ “ลาบหมาน้อย” ก็สงสารลูกหมาตัวเล็
เดิมชาวลื้อ หรือไทลื้อ มีถิ่นฐานที่อยู่บริเวณ เมืองลื้อหลวง จีนเรียกว่า “ลือแจง” ต่อมาได้เคลื่อนย้ายลงมาอยู่ บริเวณเมืองหนองแส หรือที่เรียกว่า คุนหมิงในปัจจุบัน แล้วย้ายลงมาสู่ลุ่มน้ำน้ำโขง สิบสองปันนาปัจจุบัน ประมาณศตวรรษที่ 12 จึงเกิดมีวีรบุรุษชาวไทลื้อชื่อ เจ้าเจื๋องหาญ ได้รวบรวมหัวเมืองต่าง ๆ ในสิบสองปันนา ปัจจุบันตั้งเป็นอาณาจักรแจ่ลื้อ (เซอลี่) โดยได้ตั้งศูนย์อำนาจการปกครองเอาไว้ที่หอคำเชียงรุ่งนาน790 ปี ต่อมาถึง สมัยเจ้าอิ่นเมือง ครองราชย์ต่อมาในปี ค.ศ. 1579-1583 (พ.ศ. 2122-2126) ได้แบ่งเขตการปกครองเป็นสิบสองหัวเมือง แต่ละหัวเมืองให้มีที่ทำนา 1,000 หาบข้าว (เชื้อพันธุ์ข้าว) ต่อนาหนึ่งที่หรือหนึ่งหัวเมือง จึงเป็นที่มาจนถึงปัจจุบัน เมืองสิบสองปันนา (ที่มาของคำว่า สิบสองพันนา อ่านออกเสียงเป็น “สิบสองปันนา”) ชาวไทลื้ออาศัยอยู่สองฝั่งแม่น้ำโขง คือ ด้านตะวันออกและตะวันตกของแม่น้ำ มีเมืองต่าง ๆ ดังนี้ ภาษาไทลื้อ ได้กล่าวไว้ว่า ห้าเมิงตะวันตก หกเมิงตะวันออก รวมเจียงฮุ่ง (เชียงรุ่ง) เป็น 12 ปันนา และทั้ง 12 ปันนานั้น ประกอบด้วยเมืองใหญ่น้อยต่างๆ เช่น ฝั่งตะวันต
เดิมชาวลื้อ หรือไทลื้อ มีถิ่นฐานที่อยู่บริเวณ เมืองลื้อหลวง จีนเรียกว่า “ลือแจง” ต่อมาได้เคลื่อนย้ายลงมาอยู่ บริเวณเมืองหนองแส หรือที่เรียกว่า คุนหมิงในปัจจุบัน แล้วย้ายลงมาสู่ลุ่มน้ำน้ำโขง สิบสองปันนาปัจจุบัน ประมาณศตวรรษที่ 12 จึงเกิดมีวีรบุรุษชาวไทลื้อชื่อ เจ้าเจื๋องหาญ ได้รวบรวมหัวเมืองต่าง ๆ ในสิบสองปันนา ปัจจุบันตั้งเป็นอาณาจักรแจ่ลื้อ (เซอลี่) ชาวไทลื้อบางส่วนได้อพยพ หรือถูกกวาดต้อนออกจากเมืองเหล่านี้เมื่อประมาณหนึ่งร้อยถึงสองร้อยปีที่ผ่านมา แล้วลงมาตั้งถิ่นฐานใหม่ในประเทศตอนล่าง เช่น พม่า, ลาว และไทย ส่วนในต่างประเทศนั้น มีการกระจายตัวกันเกือบทุกประเทศในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง เช่น ในรัฐฉาน ประเทศพม่า ประเทศลาว ประเทศเวียดนาม (เมืองแถน และ เมืองเดียนเบียนฟู ก็มีการบันทึกไว้ว่ามีชาวไทลื้อ อยู่ที่นั่นด้วย) ในชุมชนไทลื้อมีการปลูกเครือหมาน้อยเพื่อทำวุ้นเครือหมาน้อย โดยชาวไทลื้อเรียกว่า แองแทะ เพื่อนำไปทำเป็นอาหารหวานและอาหารคาว มีสรรพคุณเป็นยาเย็น แก้ร้อนใน ดับพิษร้อน ถอนพิษไข้ ส่วนคนไทยเลยยังใช้น้ำคั้นจากรากและใบของเครือหมาน้อยใส่ในแกงหน่อไม้แทนใบย่านาง ปัจจุบัน กลุ่
เดิมชาวลื้อ หรือไทลื้อ มีถิ่นฐานที่อยู่บริเวณ เมืองลื้อหลวง จีนเรียกว่า “ลือแจง” ต่อมาได้เคลื่อนย้ายลงมาอยู่ บริเวณเมืองหนองแส หรือที่เรียกว่า คุนหมิง ในปัจจุบัน แล้วย้ายลงมาสู่ลุ่มน้ำน้ำโขง สิบสองปันนาปัจจุบัน ประมาณศตวรรษที่ 12 จึงเกิดมีวีรบุรุษชาวไทลื้อชื่อ เจ้าเจื๋องหาญ ได้รวบรวมหัวเมืองต่างๆ ในสิบสองปันนา ปัจจุบันตั้งเป็นอาณาจักรแจ่ลื้อ (เซอลี่) ชาวไทลื้อบางส่วนได้อพยพ หรือ ถูกกวาดต้อน ออกจากเมืองเหล่านี้เมื่อประมาณหนึ่งร้อยถึงสองร้อยปีที่ผ่านมา แล้วลงมาตั้งถิ่นฐานใหม่ในประเทศตอนล่าง เช่น พม่า ลาว และไทย ส่วนในต่างประเทศนั้น มีการกระจายตัวกันเกือบทุกประเทศในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง เช่นในรัฐฉาน ประเทศพม่า ประเทศลาว ประเทศเวียดนาม (เมืองแถน และ เมืองเดียนเบียนฟู ก็มีการบันทึกไว้ว่ามีชาวไทลื้อ อยู่ที่นั่นด้วย) ในชุมชนไทลื้อมีการปลูกเครือหมาน้อยเพื่อทำวุ้นเครือหมาน้อย โดยชาวไทลื้อเรียกว่า แองแทะ เพื่อนำไปทำเป็นอาหารหวานและอาหารคาว มีสรรพคุณเป็นยาเย็น แก้ร้อนใน ดับพิษร้อน ถอนพิษไข้ ส่วนคนไทยเลยยังใช้น้ำคั้นจากรากและใบของเครือหมาน้อยใส่ในแกงหน่อไม้แทนใบย่านาง ปัจจุบัน กลุ่มอ