เครื่องสูบน้ำ
ปัจจุบัน เกษตรกรส่วนใหญ่มีพื้นที่การเกษตรอยู่นอกเขตชลประทาน ไม่มีไฟฟ้าที่จะเอื้ออำนวยต่อการสูบน้ำในการเพาะปลูกพืช จึงมักทำการเกษตรได้เฉพาะฤดูฝน และบ่อยครั้งต้องประสบปัญหาพืชขาดน้ำ และบางรายเมื่อเข้าสู่ฤดูแล้งจึงปล่อยให้พื้นที่ว่างเปล่า เพราะไม่สามารถจัดหาน้ำมาใช้เพาะปลูกพืชได้ แต่มีเกษตรกรรายหนึ่งที่ใช้ภูมิปัญญาดัดแปลงเครื่องตัดหญ้าแบบสะพายให้เป็นเครื่องสูบน้ำปลูกพืชผัก ทำรายได้ในช่วงฤดูแล้งได้เป็นอย่างดี อย่างเช่น คุณวิไล นาลา อยู่บ้านเลขที่ 356 หมู่ที่ 9 บ้านนาดี ตำบลกุดธาตุ อำเภอหนองนาคำ จังหวัดขอนแก่น คุณวิไล-คุณพรรณี นาลา สองสามีภรรยา ให้ข้อมูลว่า มีอาชีพทำนา ในฤดูฝนทำนาปี ส่วนฤดูแล้งหลังจากเก็บเกี่ยวข้าวแล้วก็ปลูกพืชผักอายุสั้นหลายชนิด เช่น ข้าวโพดข้าวเหนียว แตงร้าน แตงกวา แตงไทย แตงโม ถั่วฝักยาว เมื่อเก็บเกี่ยวเสร็จแล้วก็ย้ายไปปลูกแปลงใหม่ต่อไปเรื่อย เป็นการนำปุ๋ยไปใส่นาอีกทางหนึ่งด้วย สามารถทำรายได้ให้แก่ครอบครัว วันละ 200-300 บาท โดยสูบน้ำจากสระน้ำที่ขุดไว้ จำนวน 2 บ่อ แต่เนื่องจากที่นาของตนเองไม่มีระบบชลประทาน ไม่มีไฟฟ้า แต่จำเป็นต้องใช้น้ำ จึงคิดหาวิธีทุ่นแรงในการรดน้ำแทนการ
อธิบดี “ประพิศ” สั่งเฝ้าระวังรับมือฝนตกหนัก น้ำหลากในพื้นที่ภาคอีสาน อธิบดีกรมชลประทาน สั่งโครงการชลประทานภาคอีสานทุกแห่งเฝ้าระวังน้ำท่วม หลังมีฝนตกหนักสะสมในหลายพื้นที่ ส่งผลให้ระดับน้ำเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ขณะที่จังหวัดอุบลราชธานี เตรียมติดตั้งเครื่องผลักดันน้ำ เร่งระบายลงสู่แม่น้ำโขง รองรับฝนที่อาจจะตกลงมาเพิ่มอีกระลอกในระยะต่อไป นายประพิศ จันทร์มา อธิบดีกรมชลประทาน เปิดเผยว่า ฝนที่ตกสะสมในพื้นที่ภาคอีสาน ทำให้ระดับน้ำในแม่น้ำหลายสายเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง จึงได้สั่งการให้โครงการชลประทานในพื้นที่ทุกแห่ง เฝ้าระวังสถานการณ์น้ำอย่างเข้มข้น เพื่อบรรเทาผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับประชาชนให้มากที่สุด โดยให้แสตนด์บายเครื่องจักร เครื่องมือ และเจ้าหน้าที่เข้าประจำจุดพื้นที่เสี่ยงน้ำท่วม ให้สามารถเข้าไปช่วยเหลือได้ทันที พร้อมประสานไปยังหน่วยงานท้องถิ่นที่เกี่ยวข้อง เพื่อบูรณาการให้การช่วยเหลือประชาชนอย่างเต็มกำลัง ด้านเทศบาลนครขอนแก่น ที่เกิดน้ำท่วมขังหลังมีฝนตกหนัก โครงการชลประทานขอนแก่น ได้ติดตั้งเครื่องสูบน้ำ เพื่อเร่งระบายน้ำออกจากพื้นที่เทศบาลนครขอนแก่นแล้ว แต่ยังคงเฝ้าระวังสถานการณ์อ
ปัจจุบัน เกษตรกรส่วนใหญ่มีพื้นที่การเกษตรอยู่นอกเขตชลประทาน ไม่มีไฟฟ้าที่จะเอื้ออำนวยต่อการสูบน้ำในการเพาะปลูกพืช จึงมักทำการเกษตรได้เฉพาะฤดูฝน และบ่อยครั้งต้องประสบปัญหาพืชขาดน้ำ และบางรายเมื่อเข้าสู่ฤดูแล้งจึงปล่อยให้พื้นที่ว่างเปล่า เพราะไม่สามารถจัดหาน้ำมาใช้เพาะปลูกพืชได้ แต่มีเกษตรกรรายหนึ่งที่ใช้ภูมิปัญญาดัดแปลงเครื่องสูบน้ำแบบสะพายให้เป็นเครื่องสูบน้ำปลูกพืชผัก ทำรายได้ในช่วงฤดูแล้งได้เป็นอย่างดี อย่างเช่น คุณวิไล นาลา อยู่บ้านเลขที่ 356 หมู่ที่ 9 บ้านนาดี ตำบลกุดธาตุ อำเภอหนองนาคำ จังหวัดขอนแก่น ฉีดรดพืชผักตามต้องการ คุณวิไล-คุณพรรณี นาลา สองสามีภรรยา ให้ข้อมูลว่า มีอาชีพทำนา ในฤดูฝนทำนาปี ส่วนฤดูแล้งหลังจากเก็บเกี่ยวข้าวแล้วก็ปลูกพืชผักอายุสั้นหลายชนิด เช่น ข้าวโพดข้าวเหนียว แตงร้าน แตงกวา แตงไทย แตงโม ถั่วฝักยาว เมื่อเก็บเกี่ยวเสร็จแล้วก็ย้ายไปปลูกแปลงใหม่ต่อไปเรื่อย เป็นการนำปุ๋ยไปใส่นาอีกทางหนึ่งด้วย สามารถทำรายได้ให้แก่ครอบครัว วันละ 200-300 บาท โดยสูบน้ำจากสระน้ำที่ขุดไว้ จำนวน 2 บ่อ เปลี่ยนชุดตัดหญ้า เป็นหัวปั๊มสูบน้ำ เมื่อติดเครื่องยนต์และจุ่มหัวปั๊มสูบน้ำลงในน้ำจะสูบน
เกษตรกรบนที่สูงในหลายพื้นที่ต้องประสบกับปัญหาน้ำไม่พอใช้ มีข้อจำกัดของเงินทุน ทำให้ไม่สามารถอำนวยความสะดวกให้กับตัวเองได้อย่างเต็มที่ การทำเกษตรกรรมบนที่สูง จำเป็นต้องมีเครื่องสูบน้ำเข้ามาช่วย เพราะฉะนั้นต้นทุนก็มีมากขึ้นกว่าการทำเกษตรบนที่ราบ เครื่องสูบ 1 เครื่อง ต้องใช้น้ำมัน ใช้ไฟฟ้า ต้นทุนเหล่านี้จึงกลายเป็นอุปสรรค ทำให้เกษตรกรผลิตพืชผลทางการเกษตรได้ไม่เท่าที่ควร จึงมีเกษตรกรหัวคิดก้าวไกล คิดค้นเครื่องตะบันน้ำ ต้นทุนต่ำ ไว้ใช้ทำเกษตรบนที่สูง คุณวิไช ด้วงทอง เกษตรกรปลูกพืชไร่ อยู่บ้านเลขที่ 87 หมูที่ 2 ตำบลวังกวาง อำเภอน้ำหนาว จังหวัดเพชรบูรณ์ เล่าว่า ชาวบ้านในตำบลวังกวาง ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ปลูกพืชไร่ เนื่องจากมีตัวแปรสำคัญคือ พื้นที่อยู่สูง ปลูกพืชที่ใช้น้ำมากไม่ได้ การจัดสรรน้ำจากแหล่งน้ำ จึงต้องใช้ปั๊มสูบน้ำขึ้นมา แหล่งน้ำจะอยู่ตามสันเขาและพื้นที่ต่ำ ที่ผ่านมาใช้เครื่องปั๊มน้ำ น้ำมันดีเซลสูบน้ำขึ้นมาเก็บไว้ในถัง มีค่าใช้จ่ายสูง ราคาขายพืชก็ไม่สูงมาก จึงไม่คุ้มทุน “ผมเป็นเกษตรกรมานานกว่า 20 ปี ต้องประสบปัญหาต้นทุนการทำเกษตรที่สูง เนื่องจากต้องเสียค่าใช้จ่ายในการสูบน้ำ เม
กระทรวงเกษตรฯ เดินหน้ารับมือสถานการณ์ภัยแล้ง ปล่อยคาราวานเครื่องจักร เครื่องมือเตรียมช่วยเหลือในพื้นที่ พร้อมบูรณาการด้านข้อมูลน้ำอย่างเป็นระบบ หวังบริหารจัดการน้ำให้เพียงพอต่อความต้องการของเกษตรกรและประชาชน นายอนันต์ สุวรรณรัตน์ ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยภายหลังเป็นประธานการประชุมเตรียมการรับมือภัยแล้ง และพิธีปล่อยขบวนคาราวานเครื่องจักรกล เครื่องสูบน้ำ รถบรรทุกน้ำ เพื่อช่วยเหลือประชาชนในพื้นที่ที่คาดว่าจะประสบภัยแล้ง ณ บริเวณสนามฟุตบอล (น้ำแก้จน) กรมชลประทาน อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี สืบเนื่องจากนายกฤษฎา บุญราช รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้มีนโยบายให้หน่วยงานของกระทรวงเกษตรฯ ที่เกี่ยวข้องมีความตื่นตัว ตระหนัก และเตรียมพร้อมในการรับมือสถานการณ์ภัยแล้งที่กำลังจะมาถึง โดยมอบหมายให้กรมชลประทานเป็นหน่วยงานหลักในการจัดทำฐานข้อมูลปริมาณน้ำทั้งประเทศ ความต้องการใช้น้ำ ทั้งในเขตและนอกเขตชลประทานอย่างเป็นระบบ เพื่อนำมาวิเคราะห์เป็นรายพื้นที่ที่ต้องเฝ้าระวัง และกำหนดมาตรการที่เหมาะสมในการบริหารจัดการน้ำให้เพียงพอต่อความต้องการของเกษตรกรและประชาชนในพื้นที่ ทั้งในการเตรียมความพร้อมด้าน
นายทวีศักดิ์ ธนเดโชพล รองอธิบดีกรมชลประทาน เปิดเผยว่า สถานการณ์ภัยแล้งปี 2562 จากการตรวจสอบในเขตพื้นที่ของกรมชลฯ ในหลายพื้นที่ พบว่า จะมีปริมาณน้ำเพื่อใช้ในการอุปโภคบริโภค และทำการเกษตรเพียงพอ ขอยืนยันว่าปีนี้ประเทศไทยไม่เข้าขั้นประสบปัญหาภัยแล้ง เพราะทางกรมฯ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีการศึกษาข้อมูลการใช้น้ำรวมช่วง 1-2 ปีที่ผ่านมา แล้วทำการวางแผนรับมือสถานการณ์ภัยแล้งเป็นอย่างดี และคาดว่าปริมาณน้ำจะเพียงพอใช้จนถึงต้นปี 2563 นายทวีศักดิ์ กล่าวว่า แต่ยังคงมีเขื่อนขนาดใหญ่ 6 แห่ง ยังต้องเฝ้าระวังน้ำแล้ง ประกอบด้วย 1.เขื่อนอุบลรัตน์ 2.เขื่อนทับเสลา 3.เขื่อนแม่มอก 4.เขื่อนกระเสียว 5.เขื่อนลำพระเพลิง และ6.เขื่อนลำนางรอง โดยเฉพาะเขื่อนอุบลรัตน์ และเขื่อนแม่มอก มีการสั่งห้ามทำการเกษตรทุกชนิด เพื่อสำรองน้ำไว้ใช้ในช่วงฤดูแล้ง หรือระหว่างวันที่ 1 พฤศจิกายน 2561- 30 เมษายน 2562 เพื่อให้เพียงพอกับการใช้เพื่ออุปโภคบริโภคมากกว่า ส่วนในช่วงที่เกษตรกรไม่สามารถทำการเกษตรได้ ทางกรมชลฯ ได้เตรียมแผนจ้างงานโดยจะดูทักษะของเกษตรกรแต่ละราย อาทิ การขุดลอกคูคลอง และงานที่เกี่ยวกับระบบชลประทาน เป็นต้น ซึ
ปัจจุบัน เกษตรกรส่วนใหญ่มีพื้นที่การเกษตรอยู่นอกเขตชลประทาน ไม่มีไฟฟ้าที่จะเอื้ออำนวยต่อการสูบน้ำในการเพาะปลูกพืช จึงมักทำการเกษตรได้เฉพาะฤดูฝน และบ่อยครั้งต้องประสบปัญหาพืชขาดน้ำ และบางรายเมื่อเข้าสู่ฤดูแล้งจึงปล่อยให้พื้นที่ว่างเปล่า เพราะไม่สามารถจัดหาน้ำมาใช้เพาะปลูกพืชได้ แต่มีเกษตรกรรายหนึ่งที่ใช้ภูมิปัญญาดัดแปลงเครื่องสูบน้ำแบบสะพายให้เป็นเครื่องสูบน้ำปลูกพืชผัก ทำรายได้ในช่วงฤดูแล้งได้เป็นอย่างดี อย่างเช่น คุณวิไล นาลา อยู่บ้านเลขที่ 356 หมู่ที่ 9 บ้านนาดี ตำบลกุดธาตุ อำเภอหนองนาคำ จังหวัดขอนแก่น ฉีดรดพืชผักตามต้องการ คุณวิไล-คุณพรรณี นาลา สองสามีภรรยา ให้ข้อมูลว่า มีอาชีพทำนา ในฤดูฝนทำนาปี ส่วนฤดูแล้งหลังจากเก็บเกี่ยวข้าวแล้วก็ปลูกพืชผักอายุสั้นหลายชนิด เช่น ข้าวโพดข้าวเหนียว แตงร้าน แตงกวา แตงไทย แตงโม ถั่วฝักยาว เมื่อเก็บเกี่ยวเสร็จแล้วก็ย้ายไปปลูกแปลงใหม่ต่อไปเรื่อย เป็นการนำปุ๋ยไปใส่นาอีกทางหนึ่งด้วย สามารถทำรายได้ให้แก่ครอบครัว วันละ 200-300 บาท โดยสูบน้ำจากสระน้ำที่ขุดไว้ จำนวน 2 บ่อ เปลี่ยนชุดตัดหญ้า เป็นหัวปั๊มสูบน้ำ เมื่อติดเครื่องยนต์และจุ่มหัวปั๊มสูบน้ำลงในน้ำจะสูบน
ดีแทค อยากเห็นสังคมไทยที่ดีขึ้น ด้วยการริเริ่ม โครงการ “พลิกไทย” เพื่อเชิญชวนให้บุคคลหรือกลุ่มบุคคลที่มีไอเดียในการแก้ไขปัญหาและสร้างความเปลี่ยนแปลงให้แก่ประเทศไทยอย่างยั่งยืน ดีแทค ได้คัดเลือกแนวคิดกิจกรรม จำนวน 10 แนวคิด ที่สามารถปฏิบัติได้จริง และสามารถสร้างประโยชน์แก่สมาชิกส่วนใหญ่ในชุมชน ทั้งในระยะสั้น และระยะยาวในเชิงเศรษฐกิจ สังคม หรือสิ่งแวดล้อม และจะมอบเงินทุนสนับสนุนเบื้องต้น เพื่อให้โครงการสามารถเป็นจริงได้ ซึ่งโครงการซูเปอร์ตะบันน้ำ เป็น 1 ใน 10 โครงการ ที่ได้รับการต่อยอดสนับสนุนจากดีแทค โครงการนี้ ผ่านการคัดเลือกมาแล้วว่า เครื่องตะบันน้ำ สามารถใช้งานและสร้างประโยชน์ต่อคนในชุมชนได้อย่างยั่งยืน คุณจีระศักดิ์ ตรีเดช นายกสมาคมเพื่อการอนุรักษ์และพัฒนาเทือกเขาเพชรบูรณ์ กล่าวว่า แม้พื้นที่ต้นน้ำจะเป็นแหล่งกำเนิดของแหล่งน้ำให้กับคนปลายน้ำ แต่ในทางกลับกัน ชุมชนในเขตต้นน้ำเองกลับเข้าไม่ถึงการใช้น้ำ เพราะแหล่งน้ำอยู่ต่ำกว่าพื้นที่เกษตรกรรม ส่งผลกระทบต่อชุมชนบนพื้นที่สูงในการจัดหาและขนส่งน้ำจากแหล่งน้ำที่ต่ำขึ้นสู่พื้นที่สูง เพื่อการอุปโภคและบริโภคในระดับครัวเรือน รวมถึงการทำการเกษตรเ
สมัยนี้เงินทองหายากเหลือเกิน จะใช้จ่ายอะไรแต่ละทีต้องคิดหนัก เพราะข้าวของแต่ละอย่าง มีราคาแพง หากใครเจอปัญหาเครื่องสูบน้ำเสีย ซ่อมไม่ได้ จะตักน้ำขึ้นมารดแปลงเพาะปลูก ก็เหนื่อยเสียเวลา สามารถแก้ไขปัญหาด้วยวิธีง่ายๆ โดยใช้วิธีดัดแปลงเครื่องตัดหญ้าที่มีอยู่มาเป็น ” เครื่องสูบน้ำ ” ตามคำแนะนำของ คุณวิไล นาลา เกษตรกรชาวจังหวัดขอนแก่น เพียงเท่านี้ก็ช่วยประหยัดเงินไปได้ก้อนโต คุณวิไล พื้นที่การเกษตรอยู่นอกเขตชลประทาน ไม่มีไฟฟ้าที่จะเอื้ออำนวยต่อการสูบน้ำในการเพาะปลูกพืช จึงมักทำการเกษตรได้เฉพาะฤดูฝน และบ่อยครั้งต้องประสบปัญหาพืชขาดน้ำ เมื่อเข้าสู่ฤดูแล้งจึงปล่อยให้พื้นที่ว่างเปล่า เพราะไม่สามารถจัดหาน้ำมาใช้เพาะปลูกพืชได้ แต่คุณวิไลไม่ย่อท้อต่ออุปสรรคที่เกิดขึ้น เธอใช้ภูมิปัญญาดัดแปลงเครื่องสูบน้ำแบบสะพายให้เป็นเครื่องสูบน้ำปลูกพืชผัก ทำรายได้ในช่วงฤดูแล้งได้เป็นอย่างดี ปัจจุบัน คุณวิไล นาลา อาศัยอยู่บ้านเลขที่ 356 หมู่ที่ 9 บ้านนาดี ตำบลกุดธาตุ อำเภอหนองนาคำ จังหวัดขอนแก่น โทร. (090) 586-0378 คุณวิไล-คุณพรรณี นาลา สองสามีภรรยา ให้ข้อมูลว่า มีอาชีพทำนา ในฤดูฝนทำนาปี ส่วนฤดูแล้งห
การประกวดผลงานประดิษฐ์คิดค้น เพื่อขอรับรางวัลสภาวิจัยแห่งชาติ ประจำปี 2560 เป็นอีกหนึ่งกิจกรรมที่สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ หรือ วช. จัดขึ้นเมื่อเร็วๆ นี้ ด้วยการประดิษฐ์คิดค้นนั้น ถือเป็นปัจจัยสำคัญต่อการพัฒนาประเทศในทุกๆ ด้าน ไม่ว่าทางเศรษฐกิจ สังคม ชุมชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในยุคที่เทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการส่งเสริมการประดิษฐ์คิดค้นอย่างจริงจัง เพื่อลดการพึ่งพาเทคโนโลยีจากต่างประเทศ และผลักดันผลงานประดิษฐ์คิดค้นของคนไทยให้สามารถนำไปพัฒนาหรือต่อยอดให้สามารถเข้าสู่เชิงพาณิชย์ได้ เกิดประโยชน์ทั้งในด้านเศรษฐกิจและสังคม เป็นการยกระดับผลงานและแสดงให้เห็นถึงศักยภาพด้านการประดิษฐ์คิดค้นของคนไทย ดร. วิภารัตน์ ดีอ่อง รองเลขาธิการคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ กล่าวภายหลังเป็นประธานเปิดงานการประกวดผลงานประดิษฐ์คิดค้น เพื่อขอรับรางวัลสภาวิจัยแห่งชาติ ประจำปี 2560 ณ ห้องประชุมจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ชั้น 2 อาคาร วช. 1 ว่า วช. ได้ให้ความสำคัญกับการส่งเสริมและสร้างแรงจูงใจให้แก่นักวิจัยและนักประดิษฐ์ ในการสร้างสรรค์ผลงานวิจัยสิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมที่มีคุณภาพ เป