เทคนิคเสริมราก
ปัญหาน้ำท่วมขัง มักทำให้ต้นยางเสียหายเพราะรากเน่า ปรุงอาหารไม่ได้ เกษตรกรสามารถฟื้นฟูต้นยางโดยการฉีดอีเรเซ่อร์ วัน + พาร์ทเวย์ กิ่ง ก้าน ทรงพุ่มของต้นยาง ที่ฉีกขาดเสียหาย ควรตัดกิ่งออกให้หมดเพื่อตกแต่งรอยแผลและตัดกิ่งที่เสียหายให้หมด โดยเน้นตัดแต่งกิ่งที่มีทิศทางไม่สมดุลกับกิ่งที่เหลืออยู่ออกบางส่วน เพื่อป้องกันไม่ให้ทรงพุ่มที่เหลืออยู่หนักไปด้านใดด้านหนึ่ง กรณีส่วนของต้นยางเป็นแผลเล็กน้อย หรือ จากการตกแต่ง การตัดกิ่ง ฉีดพ่นที่แผล ด้วย อีเรเซ่อร์ วัน + พาร์ทเวย์ เพื่อ ป้องกันการ ติดเชื้อจากเชื้อรา และ รักษาแผล เพื่อป้องกันไม่ให้เชื้อราเข้าทำลายส่วนของเนื้อเยื่อได้ คุณอารักษ์ จันทุมา แห่งศูนย์วิจัยยางสุราษฏร์ธานี เคยให้คำแนะนำเกี่ยวกับ การฟื้นฟูสวนยางที่ได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วมขัง ว่า ควรรีบระบายน้ำออกจากสวนยางโดยเร็ว และรอให้น้ำแห้งรวมทั้งดินแข็งตัวเสียก่อนแล้วจึงค่อยเข้าไปปฏิบัติงาน เพื่อหลีกเลี่ยงการทำลายรากยางโดยตรงเฉพาะรากฝอยที่เจริญขึ้นมาใหม่ให้สามารถดูดอาหารและน้ำไปเลี้ยงต้นยาง ไม่ควรใส่ปุ๋ยไม่ว่าจะเป็นปุ๋ยเคมี ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยคอกและปุ๋ยชีวภาพในขณะที่น้ำท่วมยัง