คืบหน้า สะพานเพลเยซักในโครเอเชีย ลดเวลาเดินทาง 3 ชั่วโมงเหลือ 3 นาที!

คืบหน้า “สะพานเพลเยซัก” ซินหัว รายงานว่าความคืบหน้า โครงการสะพานเพลเยซัก ใน โครเอเชีย ซึ่งก่อสร้างเสร็จสิ้นและเตรียมเปิดให้สัญจรในเร็วๆ นี้

สะพานความยาว 2.4 กิโลเมตร และสูง 55 เมตร เชื่อมระหว่างแผ่นดินใหญ่ของโครเอเชียกับมณฑลดูบรอฟนิก-เนเรตวาทางตอนใต้สุดของประเทศ ข้ามอ่าวมาลี สตอน เหนือทะเลเอเดรียติก และตัดผ่านถึงดินแดนต่างประเทศ

สะพานเพลเยซักสร้างโดยกลุ่มบริษัทจีน นำโดยบริษัท ไชน่า โรด แอนด์ บริดจ์ คอร์ปอเรชัน (CRBC) ชนะการประมูลสร้างสะพานเพลเยซักระยะแรก รวมถึงถนนเข้าออกสะพาน เมื่อเดือนมกราคม 2561

ทั้งนี้ สะพานเพลเยซักเป็นโครงการโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมขนาดใหญ่ที่สุดระหว่างจีนและโครเอเชีย นับตั้งแต่ทั้งสองฝ่ายสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตเมื่อ 30 ปีก่อน โดยสะพานแห่งนี้จะย่นเวลาเดินทางจากเดิม 3 ชั่วโมง เหลือเพียง 2-3 นาที

คืบหน้า “สะพานเพลเยซัก”

The purpose of the Pelješac Bridge is to provide a fixed link from the southeastern Croatian exclave to the rest of the country while bypassing Bosnia and Herzegovina’s short coastal strip at Neum. Construction started on 30 July 2018, and the bridge was connected on 28 July 2021. The bridge and its access roads are expected to be opened for traffic in June 2022. (Xinhua)

คืบหน้า “สะพานเพลเยซัก”

Photo taken on Jan. 23, 2022 shows the Peljesac Bridge under construction in Komarna, Croatia. The bridge spans the sea channel between Komarna on the northern mainland and the peninsula of Pelješac, thereby passing entirely through Croatian territory and avoiding any border crossings with Bosnia and Herzegovina at Neum. (Milan Sabic/PIXSELL via Xinhua)

คืบหน้า “สะพานเพลเยซัก”

Photo taken on Jan. 23, 2022 shows the Peljesac Bridge under construction in Komarna, Croatia.The grand achievement Plenković spoke of is the completion of the Pelješac Bridge, which connects mainland Croatia with the Pelješac peninsula and by extension the popular tourist destination of Dubrovnik. He reserved special thanks for the company that built the bridge, which – despite the pandemic – finished the project three months early: the China Road and Bridge Corporation (CRBC). (Milan Sabic/PIXSELL via Xinhua)

 

ติดตามข่าวสด

ข่าวเด่นประจำวัน