เกษตรรอบด้าน
เรื่องปลาทูมีอะไรมากกว่าที่คิด…ชีวิตคนไทยผูกพันกับปลาทู และเราก็ชอบกินน้ำพริก-ปลาทูกันทุกครัวเรือนจนกลายเป็นอาหารประจำชาติอย่างหนึ่งไปแล้ว โดยทั่วไปชาวประมงจะแบ่งปลาทูออกเป็น 2 ชนิด คือ ปลาสั้น และ ปลายาว ปลาสั้น มักจะหมายถึงปลาทูแม่กลอง มีลักษณะหน้าเป็นสามเหลี่ยม ตัวสั้น แบน เนื้อนิ่มเวลากดลงไปที่ตัวปลาแล้วเนื้อปลาจะกลับคืนสภาพเดิมไม่บุ๋มลงไปตามลอยแรงกด ปลาสั้นจะมีลำตัวสีเงิน หรือ อมเขียว ตาดำ ปลายาว จะมีชื่อเรียกกันหลายชื่อ เช่น ปลาลัง ปลายาว ปลาอินโด ซึ่งก็เป็นปลาชนิดเดียวกันทั้งหมด ลักษณะของปลายาว ตัวจะใหญ่และยาวกว่าปลาทูแม่กลอง ปากแหลม นี่เป็นข้อสังเกตง่ายๆ ที่จะเลือกซื้อปลาทู แต่ในทางวิทยาศาสตร์แล้วสกุลปลาทูของไทยคือ Rastrelliger เป็นสกุลของปลาทะเลในวงศ์ Scombridae ซึ่งเป็นวงศ์เดียวกับปลาโอ, ปลาอินทรี และปลาทูน่า ซึ่งปลาในสกุล Rastrelliger มีด้วยกัน 3 สายพันธุ์ได้แก่ ปลาทู (ชื่อสามัญ Short Mackerel) ปลาลัง หรือปลาทูโม่ง (ชื่อสามัญ Indian Mackerel) ปลาทูปากจิ้งจก (ชื่อสามัญ Island mackerel) ปลาทูที่เป็นปลาทูไทย (Short Mackerel) หรือปลาทูแม่กลองที่เราเข้าใจกันนั้น พูดได้เต็มป
ประเทศไทย ถือเป็นผู้นำด้านการส่งออก วัตถุดิบและผลิตภัณฑ์สมุนไพร ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ด้วยมูลค่าการส่งออกที่สูงถึง กว่า 12 ล้านบาท จากสมุนไพรที่ตลาดให้ความสนใจสูงสุด 24 ชนิด หนึ่งในดาวเด่นคือ “ขมิ้นชัน” เป็นสมุนไพรที่อุดมไปด้วยคุณค่าทางยา และสามารถต่อยอดแปรรูปเพื่อเพิ่มมูลค่าได้มากถึง 10 เท่า ไม่ว่าจะเป็นในรูปแบบผง แคปซูล เครื่องดื่ม หรือเครื่องสำอาง ก็ล้วนได้รับความนิยมทั้งในและต่างประเทศ คุณจอน-เสาวลักษณ์ มณีทอง อดีตพนักงานออฟฟิศที่ตัดสินใจกลับบ้านเกิด เพื่อเริ่มต้นทำในสิ่งที่ตัวเองรัก นั่นคือ การปลูกและแปรรูปสมุนไพร จากความตั้งใจเล็กๆ ในชุมชน กลายเป็นจุดเริ่มต้นของ “วิสาหกิจชุมชนสมุนไพรปลูกรัก” ที่วันนี้ไม่เพียงสร้างรายได้ให้กับครอบครัวและคนในชุมชน แต่ยังสามารถต่อยอดส่งออกผลิตภัณฑ์สมุนไพรไทยไปยังต่างประเทศ ได้หลายแห่ง สร้างชื่อให้กับสมุนไพรไทยในเวทีโลก จากสมุนไพรที่เคยใช้ในครัว กลายเป็นสินค้าทำเงินให้หลายบ้านในชุมชน วันนี้ขมิ้นชันจึงไม่ใช่แค่สมุนไพรธรรมดา แต่เป็นฮีโร่ตัวจริงของวิสาหกิจชุมชนสมุนไพรปลูกรัก ที่ช่วยสร้างอาชีพ สร้างรายได้ และสร้างความภาคภูมิใจให้กับทุกคน ย้อนอ่
มะละกอจาก “สวนนายปรุง” เป็นหนึ่งในผลไม้ที่สร้างชื่อให้กับตลาดน้ำดอนหวาย ที่มีของกิน ผัก ผลไม้ และสินค้าอื่นๆ วางขายอยู่เป็นจำนวนมาก คุณปรุง ป้อมเกิด อาศัยอยู่บ้านเลขที่ 45/3 หมู่ที่ 4 ตำบลลานตากฟ้า อำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม นายปรุงปลูกมะละกอมานานกว่า 20 ปีแล้ว เดิมทีแม่ค้าในตลาด มีมะละกอแขกดำรสชาติดี จึงนำผลให้คุณโสภา ภรรยานายปรุงเพื่อชิมเนื้อและรู้สึกชอบใจ จึงได้นำเมล็ดไปปลูก เมื่อมีผลผลิต ปรากฏว่า มีรสชาติอร่อยมาก แต่ขายได้เพียงกิโลกรัมละ 1 บาทเท่านั้น คุณปรุงไม่ย่อท้อ พยายามปลูกรุ่นใหม่ นำผลผลิตออกทดลองตลาดอีก ก็ขายผลผลิตได้ราคาดีขึ้น คือ กิโลกรัมละ 25-30 บาท มีบวกลบบ้างเล็กน้อย มะละกอที่ปลูกเป็นสายพันธุ์แขกดำ นายปรุงได้คัดพันธุ์มะละกอ โดยใช้ภูมิปัญญาชาวบ้าน เริ่มจากดูที่ผลมีความยาวพอประมาณ โคนผลเล็ก ตรงกลางใหญ่ ปลายเรียว แต่ไม่แหลมจนเกินไป ปลายควรทู่พอสมควร ผิวผลสวย ขนาด 1.5-2 กิโลกรัม ต่อผล นี่เป็นลักษณะภายนอก เมื่อผ่าผลสีเนื้อต้องแดง สำคัญที่สุดรสชาติต้องหวาน คุณปรุงคัดพันธุ์มานานกว่า 20 ปี สามารถบอกได้เลยว่า มะละกอสวนนี้เป็น “มะละกอแขกดำสายพันธุ์นายปรุง” คุ
LATEST NEWS
เรื่องปลาทูมีอะไรมากกว่าที่คิด…ชีวิตคนไทยผูกพันกับปลาทู และเราก็ชอบกินน้ำพริก-ปลาทูกันทุกครัวเรือนจนกลายเป็นอาหารประจำชาติอย่างหนึ่งไปแล้ว โดยทั่วไปชาวประมงจะแบ่งปลาทูออกเป็น 2 ชนิด คือ ปลาสั้น และ ปลายาว ปลาสั้น มักจะหมายถึงปลาทูแม่กลอง มีลักษณะหน้าเป็นสามเหลี่ยม ตัวสั้น แบน เนื้อนิ่มเวลากดลงไปที่ตัวปลาแล้วเนื้อปลาจะกลับคืนสภาพเดิมไม่บุ๋มลงไปตามลอยแรงกด ปลาสั้นจะมีลำตัวสีเงิน หรือ อมเขียว ตาดำ ปลายาว จะมีชื่อเรียกกันหลายชื่อ เช่น ปลาลัง ปลายาว ปลาอินโด ซึ่งก็เป็นปลาชนิดเดียวกันทั้งหมด ลักษณะของปลายาว ตัวจะใหญ่และยาวกว่าปลาทูแม่กลอง ปากแหลม นี่เป็นข้อสังเกตง่ายๆ ที่จะเลือกซื้อปลาทู แต่ในทางวิทยาศาสตร์แล้วสกุลปลาทูของไทยคือ Rastrelliger เป็นสกุลของปลาทะเลในวงศ์ Scombridae ซึ่งเป็นวงศ์เดียวกับปลาโอ, ปลาอินทรี และปลาทูน่า ซึ่งปลาในสกุล Rastrelliger มีด้วยกัน 3 สายพันธุ์ได้แก่ ปลาทู (ชื่อสามัญ Short Mackerel) ปลาลัง หรือปลาทูโม่ง (ชื่อสามัญ Indian Mackerel) ปลาทูปากจิ้งจก (ชื่อสามัญ Island mackerel) ปลาทูที่เป็นปลาทูไทย (Short Mackerel) หรือปลาทูแม่กลองที่เราเข้าใจกันนั้น พูดได้เต็มป
ประเทศไทย ถือเป็นผู้นำด้านการส่งออก วัตถุดิบและผลิตภัณฑ์สมุนไพร ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ด้วยมูลค่าการส่งออกที่สูงถึง กว่า 12 ล้านบาท จากสมุนไพรที่ตลาดให้ความสนใจสูงสุด 24 ชนิด หนึ่งในดาวเด่นคือ “ขมิ้นชัน” เป็นสมุนไพรที่อุดมไปด้วยคุณค่าทางยา และสามารถต่อยอดแปรรูปเพื่อเพิ่มมูลค่าได้มากถึง 10 เท่า ไม่ว่าจะเป็นในรูปแบบผง แคปซูล เครื่องดื่ม หรือเครื่องสำอาง ก็ล้วนได้รับความนิยมทั้งในและต่างประเทศ คุณจอน-เสาวลักษณ์ มณีทอง อดีตพนักงานออฟฟิศที่ตัดสินใจกลับบ้านเกิด เพื่อเริ่มต้นทำในสิ่งที่ตัวเองรัก นั่นคือ การปลูกและแปรรูปสมุนไพร จากความตั้งใจเล็กๆ ในชุมชน กลายเป็นจุดเริ่มต้นของ “วิสาหกิจชุมชนสมุนไพรปลูกรัก” ที่วันนี้ไม่เพียงสร้างรายได้ให้กับครอบครัวและคนในชุมชน แต่ยังสามารถต่อยอดส่งออกผลิตภัณฑ์สมุนไพรไทยไปยังต่างประเทศ ได้หลายแห่ง สร้างชื่อให้กับสมุนไพรไทยในเวทีโลก จากสมุนไพรที่เคยใช้ในครัว กลายเป็นสินค้าทำเงินให้หลายบ้านในชุมชน วันนี้ขมิ้นชันจึงไม่ใช่แค่สมุนไพรธรรมดา แต่เป็นฮีโร่ตัวจริงของวิสาหกิจชุมชนสมุนไพรปลูกรัก ที่ช่วยสร้างอาชีพ สร้างรายได้ และสร้างความภาคภูมิใจให้กับทุกคน ย้อนอ่
ใครจะคิดว่า “กะปิ” ของที่อยู่คู่ครัวไทย จะกลายเป็นวัตถุดิบสำคัญในการทำ ไคโตซาน ธรรมชาติที่ใช้บำรุงพืช บำรุงดินได้อย่างยอดเยี่ยม ไม่ต้องเสียเงินซื้อไคโตซานราคาแพงอีกต่อไป วันนี้เราจะพาไปรู้จัก “ไคโตซานจากกะปิ” พร้อมสูตรทำเองง่ายๆ และวิธีใช้งานที่เห็นผลจริงในแปลงเกษตร ไคโตซาน (Chitosan) เป็นสารธรรมชาติที่ได้จากการสกัด “ไคติน” ซึ่งพบมากในเปลือกกุ้ง เปลือกปู หรือแม้แต่ใน “เคย” ที่ใช้ทำกะปิ เมื่อสกัดออกมาแล้วจะได้สารไคโตซานที่มีคุณสมบัติช่วยกระตุ้นภูมิต้านทานของพืช ทำให้พืชแข็งแรง ต้านโรค ต้านแมลง และยังช่วยปรับปรุงโครงสร้างของดินให้ร่วนซุยอีกด้วย ประโยชน์ของไคโตซานจากกะปิ วิธีผลิตไคโตซานจากกะปิ ใช้ง่าย ทำเองได้ที่บ้าน วัสดุที่ต้องเตรียม ขั้นตอนการทำ วิธีใช้ไคโตซานจากกะปิ
มะละกอจาก “สวนนายปรุง” เป็นหนึ่งในผลไม้ที่สร้างชื่อให้กับตลาดน้ำดอนหวาย ที่มีของกิน ผัก ผลไม้ และสินค้าอื่นๆ วางขายอยู่เป็นจำนวนมาก คุณปรุง ป้อมเกิด อาศัยอยู่บ้านเลขที่ 45/3 หมู่ที่ 4 ตำบลลานตากฟ้า อำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม นายปรุงปลูกมะละกอมานานกว่า 20 ปีแล้ว เดิมทีแม่ค้าในตลาด มีมะละกอแขกดำรสชาติดี จึงนำผลให้คุณโสภา ภรรยานายปรุงเพื่อชิมเนื้อและรู้สึกชอบใจ จึงได้นำเมล็ดไปปลูก เมื่อมีผลผลิต ปรากฏว่า มีรสชาติอร่อยมาก แต่ขายได้เพียงกิโลกรัมละ 1 บาทเท่านั้น คุณปรุงไม่ย่อท้อ พยายามปลูกรุ่นใหม่ นำผลผลิตออกทดลองตลาดอีก ก็ขายผลผลิตได้ราคาดีขึ้น คือ กิโลกรัมละ 25-30 บาท มีบวกลบบ้างเล็กน้อย มะละกอที่ปลูกเป็นสายพันธุ์แขกดำ นายปรุงได้คัดพันธุ์มะละกอ โดยใช้ภูมิปัญญาชาวบ้าน เริ่มจากดูที่ผลมีความยาวพอประมาณ โคนผลเล็ก ตรงกลางใหญ่ ปลายเรียว แต่ไม่แหลมจนเกินไป ปลายควรทู่พอสมควร ผิวผลสวย ขนาด 1.5-2 กิโลกรัม ต่อผล นี่เป็นลักษณะภายนอก เมื่อผ่าผลสีเนื้อต้องแดง สำคัญที่สุดรสชาติต้องหวาน คุณปรุงคัดพันธุ์มานานกว่า 20 ปี สามารถบอกได้เลยว่า มะละกอสวนนี้เป็น “มะละกอแขกดำสายพันธุ์นายปรุง” คุ
สูตรลับจากฟาร์ม
ใครจะคิดว่า “กะปิ” ของที่อยู่คู่ครัวไทย จะกลายเป็นวัตถุดิบสำคัญในการทำ ไคโตซาน ธรรมชาติที่ใช้บำรุงพืช บำรุงดินได้อย่างยอดเยี่ยม ไม่ต้องเสียเงินซื้อไคโตซานราคาแพงอีกต่อไป วันนี้เราจะพาไปรู้จัก “ไคโตซานจากกะปิ” พร้อมสูตรทำเองง่ายๆ และวิธีใช้งานที่เห็นผลจริงในแปลงเกษตร ไคโตซาน (Chitosan) เป็นสารธรรมชาติที่ได้จากการสกัด “ไคติน” ซึ่งพบมากในเปลือกกุ้ง เปลือกปู หรือแม้แต่ใน “เคย” ที่ใช้ทำกะปิ เมื่อสกัดออกมาแล้วจะได้สารไคโตซานที่มีคุณสมบัติช่วยกระตุ้นภูมิต้านทานของพืช ทำให้พืชแข็งแรง ต้านโรค ต้านแมลง และยังช่วยปรับปรุงโครงสร้างของดินให้ร่วนซุยอีกด้วย ประโยชน์ของไคโตซานจากกะปิ วิธีผลิตไคโตซานจากกะปิ ใช้ง่าย ทำเองได้ที่บ้าน วัสดุที่ต้องเตรียม ขั้นตอนการทำ วิธีใช้ไคโตซานจากกะปิ
วิธีการถนอมอาหารแต่ละชนชาติจะมีวิธีการที่แตกต่างกันไป ไม่ว่าจะเป็นการดอง หมัก ต้ม ตากแห้ง และมักจะถ่ายทอดให้ลูกๆ หลานๆ ในชุมชน โรงเรียนป้วยฮั้ว ถนนสายลวด ตำบลปากน้ำ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ ได้ถ่ายทอดวิธีการถนอมอาหารวิธีนี้ให้กับนักเรียนเช่นกัน คือ ไข่ต้มใบชา หรือภาษากวางตุ้ง เรียกว่า ฉ่าหยิบต๋าน เป็นเมนูถนอมไข่เก็บได้หลายวัน นอกจากนี้ ไข่ต้มใบชายังเป็นที่นิยมในชุมชนคนจีน ไม่ว่าจะเป็นในเกาะฮ่องกงหรือจีนแผ่นดินใหญ่ มีวางขายอยู่ทั่วไป การถนอมไข่ โดยการต้มในใบชา ใครๆ ก็ทำตามได้ ไม่ยุ่งยาก เริ่มจากจัดเตรียมส่วนผสม ประกอบด้วย ไข่ไก่ ชาผู่เอ๋อ หรือชาเขียว และเครื่องเทศ (เครื่องพะโล้) วิธีทำ ดังนี้ 1. ต้มไข่ดิบกับใบชาและเครื่องพะโล้ด้วยไฟแรงพอไข่สุก (ประมาณ 6 นาที) 2. ตักไข่ออกมาแล้วใช้ช้อนหรือด้ามมีดเคาะที่เปลือกไข่ให้เป็นรอยร้าวๆ ทั่วไข่ แต่อย่าให้เปลือกกะเทาะออกมาก 3. เอาไข่ลงไปต้มใหม่ ต้มไฟแรงจนเดือดแล้วใช้ไฟอ่อนอีก 1-3 ชั่วโมง เวลาต้มไข่ควรจะให้น้ำท่วมไข่ ให้ไข่จมลงไปในน้ำ เพื่อให้เครื่องเทศจะได้เข้าไปซึมในไข่ได้ บางครั้งจะใส่ซีอิ๊วดำลงไปก็ได้ ถ้าชอบ แต่จะทำให้กลิ่นชาหายหมดไป หรือไม
เมื่อเข้าสู่ฤดูฝน ประเทศไทยจะเผชิญฝนฟ้าคะนองและฝนตกหนักในหลายพื้นที่ ซึ่งสภาพอากาศ ลม และฝน ล้วนเป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อกระบวนการเพาะปลูก ซึ่งการพ่นสารป้องกันกำจัดศัตรูพืชให้มีประสิทธิภาพ จะต้องใช้ปริมาณสารและปริมาณน้ำอย่างถูกต้อง ไม่พ่นสารป้องกันกำจัดศัตรูพืชขณะฝนตกหรือมีแนวโน้มว่าฝนตก ขณะเดียวกันเพื่อให้เกษตรกรฉีดพ่นสารกำจัดศัตรูพืชอย่างปลอดภัยในช่วงฤดูฝน ควรคำนึงถึงสภาพอากาศและระยะเวลาที่เหมาะสม เพื่อประสิทธิภาพสูงสุดและลดความเสี่ยงในการสูญเสียหรือความเสียหายที่อาจเกิดขึ้น เพื่อให้เกษตรกรสามารถฉีดพ่นสารเคมีกำจัดศัตรูพืชได้อย่างคุ้มค่าและปลอดภัย กรมส่งเสริมการเกษตรแนะนำให้เกษตรกรติดตามพยากรณ์อากาศอย่างต่อเนื่อง หากฝนตกหลังจากพ่นสารเคมีภายใน 15 นาที จะต้องพ่นสารเคมีใหม่อีกครั้งซึ่งเป็นการสิ้นเปลืองต้นทุนและแรงงานไปโดยเปล่าประโยชน์ การพ่นสารที่ดีจึงควรพ่นในช่วงเวลาที่ฝนหยุดและลมสงบ เพื่อป้องกันการฟุ้งกระจายของสาร ซึ่งนิยมพ่นในตอนเช้าและเย็น ไม่ควรเดินผ่านแนวพ่น และควรพ่นให้ทับแนวเดิมน้อยที่สุด การเตรียมการก่อนพ่นสารป้องกันกำจัดศัตรูพืช คือ ต้องทราบชนิดศัตรูพืช สามารถแยกชนิดของศั
NEWS
มะละกอจาก “สวนนายปรุง” เป็นหนึ่งในผลไม้ที่สร้างชื่อให้กับตลาดน้ำดอนหวาย ที่มีของกิน ผัก ผลไม้ และสินค้าอื่นๆ วางขายอยู่เป็นจำนวนมาก คุณปรุง ป้อมเกิด อาศัยอยู่บ้านเลขที่ 45/3 หมู่ที่ 4 ตำบลลานตากฟ้า อำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม นายปรุงปลูกมะละกอมานานกว่า 20 ปีแล้ว เดิมทีแม่ค้าในตลาด มีมะละกอแขกดำรสชาติดี จึงนำผลให้คุณโสภา ภรรยานายปรุงเพื่อชิมเนื้อและรู้สึกชอบใจ จึงได้นำเมล็ดไปปลูก เมื่อมีผลผลิต ปรากฏว่า มีรสชาติอร่อยมาก แต่ขายได้เพียงกิโลกรัมละ 1 บาทเท่านั้น คุณปรุงไม่ย่อท้อ พยายามปลูกรุ่นใหม่ นำผลผลิตออกทดลองตลาดอีก ก็ขายผลผลิตได้ราคาดีขึ้น คือ กิโลกรัมละ 25-30 บาท มีบวกลบบ้างเล็กน้อย มะละกอที่ปลูกเป็นสายพันธุ์แขกดำ นายปรุงได้คัดพันธุ์มะละกอ โดยใช้ภูมิปัญญาชาวบ้าน เริ่มจากดูที่ผลมีความยาวพอประมาณ โคนผลเล็ก ตรงกลางใหญ่ ปลายเรียว แต่ไม่แหลมจนเกินไป ปลายควรทู่พอสมควร ผิวผลสวย ขนาด 1.5-2 กิโลกรัม ต่อผล นี่เป็นลักษณะภายนอก เมื่อผ่าผลสีเนื้อต้องแดง สำคัญที่สุดรสชาติต้องหวาน คุณปรุงคัดพันธุ์มานานกว่า 20 ปี สามารถบอกได้เลยว่า มะละกอสวนนี้เป็น “มะละกอแขกดำสายพันธุ์นายปรุง” คุ
สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (อว.) ร่วมแสดงผลงานในงานมหกรรมวิจัยแห่งชาติ Thailand Research Expo 2025 ชู 2 นวัตกรรมก้าวล้ำพร้อมต่อยอดสู่การยกระดับอุตสาหกรรมไทย “เครื่องสังเคราะห์กราฟีนในระดับอุตสาหกรรม” และ “เครื่องเคลือบฟิล์มดีแอลซีสำหรับอุตสาหกรรมปิโตรเลียม” กรุงเทพฯ – สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอนได้นำผลงานมาร่วมจัดแสดงภายในงานมหกรรมวิจัยแห่งชาติ 2568 หรือ Thailand Research Expo 2025 ซึ่งจัดขึ้นระหว่างวันที่ 16-20 มิถุนายน 2568ณ โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ และบางกอกคอนเวนชันเซ็นเตอร์ เซ็นทรัลเวิลด์ กรุงเทพฯ จำนวน 2 ผลงาน คือ “เครื่องสังเคราะห์กราฟีนสู่การนำไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์” และ“เครื่องต้นแบบการเคลือบฟิล์มดีแอลซีสำหรับอุตสาหกรรมปิโตรเลียม” โดยจัดแสดงที่บูธ CL2 ภายในโซนงานวิจัยและนวัตกรรมเพื่อใช้ประโยชน์ในภาคอุตสาหกรรมและพัฒนาเศรษฐกิจ ดร.พัฒนพงศ์ จันทร์พวง หัวหน้าฝ่ายพัฒนาเทคนิคและวิศวกรรม และหัวหน้าทีมวิจัยเครื่องสังเคราะห์กราฟีนฯ กล่าวว่า “กราฟีนเป็นคาร์บอนที่มีการจัดเรียงตัวในลักษณะ 2 มิติ ทำให้มีคุณสมบัติที่แข็งแรงกว่าเหล็ก
สังคมไทยกำลังเผชิญกับปัญหาหนี้สินครูอย่างแพร่หลาย แต่มีเรื่องราวของครูเกษียณรายหนึ่งที่ใช้ชีวิตหลังเกษียณได้อย่างมีความสุข น่าชื่นชม และควรยกย่อง เพราะไม่ต้องกังวลกับปัญหาหนี้สิน ไม่ต้องวิ่งหางาน หรือวิตกกับค่าใช้จ่ายในแต่ละเดือน ซึ่งครูเกษียณรายนี้คือ นายเอกรัตน์ แทนฉิมพลี อายุ 61 ปี อดีตข้าราชการครู กศน. ที่เลือกกลับไปใช้ชีวิตอย่างเรียบง่ายในบ้านเกิด ที่บ้านกระเซาะราก หมู่ 7 ต.บ่อปลาทอง อ.ปักธงชัย จ.นครราชสีมา ทำการเกษตรและสร้างอาชีพที่มั่นคงจากสิ่งที่ตนเองรัก โดยนายเอกรัตน์เล่าว่า ช่วงก่อนเกษียณประมาณ 3 ปี ตนเริ่มคิดว่าจะใช้ชีวิตหลังเกษียณอย่างไร เพราะถ้ารอให้เกษียณแล้วค่อยเริ่มทำ แรงกายก็อาจไม่ไหว จึงเริ่มมองหาพืชที่ปลูกครั้งเดียวแต่ให้ผลผลิตระยะยาว จึงศึกษาเรื่องมะพร้าวน้ำหอม พบว่า ปลูกครั้งเดียวแต่เก็บเกี่ยวได้นานถึง 30-40 ปี จึงเริ่มปลูกบนที่ดินของตนเองประมาณ 3 ไร่ จำนวน 150 ต้น ตั้งใจไว้ว่า พอถึงปีที่ 3-4 หลังเกษียณก็จะเริ่มมีรายได้จากผลผลิต ซึ่งมะพร้าวน้ำหอมดูแลง่าย ไม่ต้องใช้แรงมาก แค่รดน้ำกับใส่ปุ๋ยอินทรีย์ปีละ 2 ครั้ง เหมาะกับคนสูงอายุอย่างตน จากนั้น ก็ค่อยๆ ขยายเพิ่มขึ้น ต
ฟาร์มล้ำ
สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ร่วมกับหน่วยงานเครือข่ายในระบบวิจัยทั่วประเทศ จัดงาน “มหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2568 (Thailand Research Expo 2025)“ ระหว่างวันที่ 16-20 มิถุนายน ณ โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ และบางกอกคอนเวนชันเซ็นเตอร์ เซ็นทรัลเวิลด์ โดยมุ่งนำเสนอความก้าวหน้าของผลงานวิจัย นวัตกรรมและเทคโนโลยีที่เชื่อมโยงสู่การพัฒนาประเทศในทุกมิติ ภายใต้แนวคิด “Research for All : เชื่อมต่ออนาคตไทยด้วยวิจัยและนวัตกรรม” สำหรับเกษตรกรและผู้ที่ชื่นชอบอาชีพเกษตรห้ามพลาด นวัตกรรมเกษตรที่น่าทึ่งที่นำมาจัดแสดงในงานครั้งนี้ ได้แก่ 1.เครื่องกลั่นน้ำสมุนไพรและน้ำมันหอมระเหยจากขมิ้นชัน ผลงาน มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี ภายใต้แนวคิด ”สุราษฎร์ธานีเมืองสมุนไพร ” ช่วยยกระดับอาชีพและรายได้ของเกษตรกรผู้ปลูกขมิ้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยกลุ่มวิสาหกิจชุมชนบ้านเขานาใน กลุ่มนางไพรเดิมขายขมิ้นได้กก.ละ 26-30 บาท หรือเฉลี่ย 30,000 บาท/ตัน หลังนำนวัตกรรมดังกล่าวไปใช้งาน สามารถเพิ่มรายได้มากกกว่า 1 แสนบาท จาก 3 ช่องทาง คือ ขายน้ำกลั่นขมิ้นชันมากกว่า 20,000
ในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา จะเห็นหลายคนหันหลังให้ชีวิตในเมือง ลาออกจากงานประจำ แล้วมุ่งหน้ากลับบ้านเกิด หรือหาที่ดินต่างจังหวัด เพื่อเริ่มต้น “ชีวิตเกษตรกรในฝัน” ด้วยความหวังว่าจะได้ใช้ชีวิตที่เรียบง่าย เป็นนายของตัวเอง และอยู่ใกล้ชิดธรรมชาติ แต่ก่อนจะตัดสินใจครั้งใหญ่แบบนั้น มีบางอย่างที่คุณควรรู้ และควรคิดให้รอบด้าน ก่อนที่จะตัดสินใจลาออกจากงานประจำหันมาทำเกษตรเต็มตัว 1. เกษตรไม่ใช่เรื่องไกลเกินฝัน ภาพในหัวของใครหลายคนอาจเป็นแปลงผักเขียวชอุ่ม ไก่ไข่เดินอยู่กลางสนาม พืชผลงอกงามโดยไม่ต้องใช้สารเคมี แต่ในความเป็นจริง การทำเกษตรต้องใช้ทั้ง “แรงกาย” และ “ความคิด” อย่างหนักพอๆ กับงานออฟฟิศ ที่ต้องเจอทั้งแดด ลม ฝน ดินพัง พืชตาย ตลาดเงียบ และการลงทุนที่ไม่การันตีกำไร ดังนั้นสิ่งแรกที่ต้องทำคือ ปรับมุมมอง ให้พร้อมรับมือกับความเป็นจริง แล้วค่อยวางแผนลุย 2. อย่าทิ้งงานประจำทันที เริ่มจาก “ขยับ” ไม่ใช่ “กระโดด” แทนที่จะลาออกเลย ลองเริ่มจากการทำเกษตรแบบเล็กๆ ที่บ้านก่อน เช่น ปลูกผักสวนครัว เลี้ยงไก่ไข่ ปลูกไม้ผลในกระถาง ทำปุ๋ยใช้เอง ใช้เวลานี้สังเกตตัวเองว่า คุณมีความสุขกับมันจริงไหม และ คุณพร้อมจะเ
ทุกวันนี้แค่มีโทรศัพท์เครื่องเดียว ก็สร้างอาชีพ สร้างแบรนด์ และขายของได้แล้ว โดยเฉพาะบน TikTok ซึ่งกลายเป็นช่องทางการขายที่เกษตรกรไม่ควรมองข้าม ไม่ว่าจะทำเกษตรอินทรีย์ เลี้ยงไก่ ปลูกผัก หรือแม้แต่ทำดินปลูกเอง ก็สามารถสร้าง “ตัวตน” ให้คนรู้จักและไว้วางใจ จนกลายเป็นลูกค้าได้ โดยเฉพาะสายเกษตร ที่หลายคนมองว่าเข้าถึงโซเชียลยาก จริงๆ แล้วกลับตรงกันข้าม เพราะเรื่องจริงจากสวน เรื่องจริงจากนา ถ้ารู้จักเล่าให้เป็น ก็มีเสน่ห์เฉพาะตัวที่หาไม่ได้จากที่ไหน ใครที่อยากให้สวนไร่ของตัวเองมีคนรู้จัก หรืออยากขายของแบบไม่ต้องง้อหน้าร้าน ลองมาดูเทคนิคปั้น Personal Brand บน TikTok แบบง่ายๆ แต่ได้ผลจริงกันเลย ก่อนจะเริ่ม มาทำความเข้าใจกันก่อนว่า Personal Brand คือ “ภาพจำของคุณในสายตาคนอื่น” เช่น คนดูแล้วรู้เลยว่า “อ้อ นี่แหละ ลุงที่สอนปลูกพริกแบบไม่ใช้ปุ๋ยเคมี” เมื่อมีแบรนด์ส่วนตัวชัดเจน คนจะจดจำคุณได้ง่ายขึ้น กล้าซื้อสินค้าและแชร์คลิปของคุณต่อ เป็น “ฐานแฟนคลับ” ที่แน่นกว่าแค่คนผ่านมาเลื่อนดู ขั้นตอนสร้าง Personal Brand สายเกษตรบน TikTok แบบละเอียด 1. รู้จักจุดเด่นของตัวเองก่อน ก่อนจะเริ่มโพสต์ ลอ
TRENDY
Latest post from Technology Chaoban