เปิด 3 พฤติกรรม ที่จะเปลี่ยนเจ้าของกิจการ ให้เป็นผู้ประกอบการระดับสูง

ใครจะเชื่อว่าจุดเริ่มต้นเล็กๆ จากแผงขายน้ำมะนาวของลูกสาว จะกลายเป็นอาชีพที่สร้างรายได้ต่อเดือนกว่าครึ่งล้านบาท เรื่องราวของ Swetha (สเวทา) และ Venkat Raju (เวนกัต ราชู) คู่รักชาวอินเดียวัย 40 ปี ในบรูกลิน นิวยอร์ก คือบทพิสูจน์ของคำว่า “โอกาสมีอยู่ทุกที่” หากรู้จักสังเกตและลงมือทำ ย้อนกลับไปในปี 2021 Mahati (มาหตี) ลูกสาวตัวน้อยวัย 6 ขวบ เกิดไอเดียอยากหารายได้พิเศษด้วยการตั้งแผงขายน้ำมะนาวและโดซ่า เครปสไตล์อินเดียใต้รสชาติต้นตำรับ บริเวณตลาด Fort Greene Park Green Market คุณแม่ Swetha จึงลงมือปรุงโดซ่าสูตรพิเศษให้ลูกสาวไปขายเล่นๆ ใครจะรู้ว่ารสชาติอันเป็นเอกลักษณ์นั้น จะสร้างปรากฏการณ์ที่ทำให้ลูกค้าติดใจ จนต้องกลับมาซื้อซ้ำแล้วซ้ำเล่า จากแผงเล็กๆ ริมทาง สู่การตัดสินใจครั้งสำคัญ Swetha และ Venkat เล็งเห็นโอกาสทอง ที่ซ่อนอยู่ในรสชาติอาหารอินเดียใต้ที่มีความแตกต่างและเป็นเอกลักษณ์ พวกเขาเริ่มจริงจังกับการขายโดซ่าทุกวันเสาร์ พร้อมขนเตาแก๊สมาปรุงสดๆ ร้อนๆ สร้างความฮือฮาจนลูกค้าต่อแถวยาวเหยียด เพื่อลิ้มลองโดซ่าราคา 10 ดอลลาร์สหรัฐฯ หรือประมาณ 300 กว่าบาท ที่อร่อยจนหยุดไม่ได้ ความต้องการที่พุ่ง
ทรู คอร์ปอเรชั่น เผยอินไซต์เชิงลึกเทศกาลสงกรานต์ 2568 ที่ผ่านมา พบคนไทยและนักท่องเที่ยวต่างชาติร่วมสาดน้ำคึกคักทั่วประเทศ การเดินทางข้ามภูมิภาคเพิ่มขึ้นโดยเฉพาะภาคอีสาน เหนือ และใต้ ขณะที่เครือข่ายอัจฉริยะที่ขับเคลื่อนด้วย AI ช่วยยกระดับประสิทธิภาพการให้บริการ 5G และ 4G ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ด้วยการปรับแต่งเครือข่ายแบบเรียลไทม์ที่แม่นยำตรงจุด ส่งผลให้ตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้เร็วขึ้นถึง 3-4 เท่า สามารถรองรับปริมาณการใช้งานที่หนาแน่นได้ทุกแห่งตามแผน ทั้งในแหล่งจัดกิจกรรมสงกรานต์ จุดเล่นน้ำ แหล่งท่องเที่ยว ตลอดจนเส้นทางคมนาคมหลักทั่วประเทศ นายประเทศ ตันกุรานันท์ หัวหน้าคณะผู้บริหารด้านเทคโนโลยีและความปลอดภัยระบบสารสนเทศ บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) เปิดเผยว่า “สงกรานต์ปีนี้นับว่าเป็นเทศกาลความสุขครั้งยิ่งใหญ่ของทั้งชาวไทย และต่างชาติที่มาเยือน เราได้เห็นการตอบรับของผู้คนทั่วประเทศผ่านข้อมูล Mobility Data ที่แสดงให้เห็นถึงความคึกคักของเทศกาลในทุกภูมิภาค โดยเฉพาะในพื้นที่จัดงานหลักทั้งในกรุงเทพฯ และต่างจังหวัด ทรู คอร์ปอเรชั่นได้เตรียมความพร้อมเครือข่ายไว้รองรับตลอด 24 ชั่วโม
หลายๆ คนมักหยุดความฝัน หรือความตั้งใจ เพราะคำว่า ‘ไม่พร้อม’ แต่ไม่ใช่กับ ‘คุณสิ-สิรินทร์ กล้วยพนาวัน’ เธอเริ่มต้น ‘ทำเกษตร’ เป็นอาชีพเสริม จากงานเลขา แม้ไม่มีพื้นที่เพาะปลูกของตัวเอง เพราะอาศัยอยู่คอนโด อีกทั้ง ไม่มีเงินทุนมากมาย แต่ก็ไม่คิดนำมาเป็นอุปสรรค ด้วยความตั้งใจจริง เธอลงมือสร้างสวน ‘Sirin garden & edible flower’ บน ‘พื้นที่เช่า’ แม้หลายเสียงจะบอกว่า ‘บ้า’ แต่สำหรับเธอ ทุกก้าวคือการเรียนรู้ ทุกช่วงเวลาคือความสุข และหากรอให้พร้อม หรือรอถึงเกษียณ อาจไม่มีโอกาสได้เริ่มต้น วันนี้คุณสิไม่เพียงแค่ปลูกเอง แต่ยังแบ่งปันความรู้ให้กับคนอื่น ด้วยการจัดเวิร์กช็อปและส่งต่อประสบการณ์จริง ที่สั่งสมมาตลอด 4 ปี อีกด้วย อาชีพเสริมที่เริ่มต้น บนพื้นที่เช่า คุณสิ เริ่มทำเกษตร เพราะอยากให้ลูกมีพื้นที่วิ่งเล่น มีพื้นที่ทำกิจกรรม และเลี้ยงสัตว์ตามความชอบ ซึ่งแนวคิดนี้เกิดขึ้นในช่วงโควิด จากการกลัวลูกติดหน้าจอโทรศัพท์ และด้วยไม่มีพื้นที่ของตัวเอง ‘การเช่าที่’ จึงเป็นทางเลือกที่เธอมองว่า ทุกก้าว คือการเรียนรู้ และทุกช่วงเวลาคือความสุข โดยเช่าที่แรก ซอยประชาชื่น 37 ข้างๆ คอนโด พื้นที่ 100 ตร.ว.
สงกรานต์ ปี 68 นี้ KFC Thailand ร่วมวงความสนุกแบบเต็มพิกัด เพราะนอกจากจะนำ ป๊อปบอมบ์แซ่บ เมนูซิกเนเจอร์ที่ทุกคนรอคอยกลับมาต้อนรับเทศกาลและอยู่ยาวตลอดเดือนเมษายนแล้ว ยังส่งแคมเปญสุดสร้างสรรค์รับเทศกาลสงกรานต์มาสร้างรอยยิ้มและเสียงหัวเราะให้กับคนไทย ในแคมเปญ “แซ่บข้าใครอย่าแตะ” ที่หยิบเอาอินไซต์ของคนที่กลัวเปียกในช่วงสงกรานต์แต่ยังอยากกินมื้อแซ่บนอกบ้าน งานนี้ KFC จึงขอผนึกกำลังคนหิวไก่ที่กลัวเปียกให้ออกมาปกป้อง ป๊อปบอมบ์แซ่บ อันเป็นที่รักไม่ให้เปียกน้ำในช่วงสงกรานต์ไปด้วยกัน หลังจากเปิดตัวไปเมื่อปลายเดือนมีนาคมที่ผ่านมา ป๊อปบอมบ์แซ่บ ก็ได้รับกระแสตอบรับจากแฟนๆ เมนูนี้อย่างล้นหลาม ด้วยรสชาติที่คนไทยต่างคิดถึง KFC จึงไม่รอช้า เปิดตัวแคมเปญสงกรานต์รับกระแส ท้าผู้กล้าทุกคนให้ออกมาร่วมปกป้อง ป๊อปบอมบ์แซ่บ เมนูสุดรักไม่ให้ถูกแย่งหรือเปียกน้ำในช่วงสงกรานต์นี้ โดยเริ่มต้นจากการเปิดตัว ภาพยนตร์โฆษณา “แซ่บจนต้องปล้น!” สร้างเสียงหัวเราะไปกับเรื่องราวสุดฮาและลุ้นระทึกของภารกิจการปกป้อง ป๊อปบอมบ์แซ่บ ที่ใครๆ ก็หวงไม่ให้โดนขโมย จนต้องเปียกน้ำในช่วงสงกรานต์ไปก่อน KFC Thailand ยังเพิ่มความสนุกให้แคมเปญ
“เดี๋ยวนี้คนใช้ดินสอปากกาลดลง นิยมจดบนไอแพดหรือเทคโนโลยีอื่นๆ กันหมด” ใครยังจำภาพร้านเครื่องเขียนที่เต็มไปด้วยดินสอ ปากกา สมุด และอุปกรณ์นานาชนิดได้บ้าง วันนี้หรือในอนาคตไม่นาน ภาพเหล่านั้นอาจกำลังเลือนหายไป เสียงจากผู้ประกอบการแห่งหนึ่ง ได้จุดประเด็นถึงสถานการณ์ที่น่ากังวล เมื่อ “ร้านเครื่องเขียน” กำลังเผชิญกับภาวะ “เจ๊ง” อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงของยุคสมัย ธุรกิจที่เคยเฟื่องฟูกำลังตกอยู่ในสถานการณ์ที่ยากลำบาก พฤติกรรมของผู้บริโภคที่เปลี่ยนไปอย่างรวดเร็วอาจกลายเป็นสัญญาณเตือนที่สำคัญ เมื่อวันหยุดยาวที่ผ่านมา ผู้เขียนได้เดินทางเข้าไปในตัวเมืองราชบุรี เพื่อไปซื้ออุปกรณ์เครื่องเขียนชนิดหนึ่ง ซึ่งเป็นร้านประจำในทุกๆ ครั้งที่ต้องการซื้อเกี่ยวกับอะไรพวกนี้ แต่วันนี้รู้สึกแปลกตาไปหน่อย เพราะสินค้าต่างๆ เริ่มลดลง จากเมื่อก่อนมีอยู่หนาตา จะเดินไปหยิบอะไรสักอย่างทีแทบจะเอียงตัวเดิน แต่มาวันนี้กลับไม่ใช่ ทุกอย่างดูบางตาไปเกือบหมด ทันทีที่ยืนมองดูบรรยากาศร้านรอบๆ คุณตาเจ้าของร้านวัย 86 ปี เดินออกมาพร้อมพูดว่า “เดี๋ยวไม่นานก็จะปิดแล้ว” ผู้เขียนก็นึกว่าวันนี้มาช่วงเย็นๆ ร้านคงใ
ใครจะเชื่อว่าจุดเริ่มต้นเล็กๆ จากแผงขายน้ำมะนาวของลูกสาว จะกลายเป็นอาชีพที่สร้างรายได้ต่อเดือนกว่าครึ่งล้านบาท เรื่องราวของ Swetha (สเวทา) และ Venkat Raju (เวนกัต ราชู) คู่รักชาวอินเดียวัย 40 ปี ในบรูกลิน นิวยอร์ก คือบทพิสูจน์ของคำว่า “โอกาสมีอยู่ทุกที่” หากรู้จักสังเกตและลงมือทำ ย้อนกลับไปในปี 2021 Mahati (มาหตี) ลูกสาวตัวน้อยวัย 6 ขวบ เกิดไอเดียอยากหารายได้พิเศษด้วยการตั้งแผงขายน้ำมะนาวและโดซ่า เครปสไตล์อินเดียใต้รสชาติต้นตำรับ บริเวณตลาด Fort Greene Park Green Market คุณแม่ Swetha จึงลงมือปรุงโดซ่าสูตรพิเศษให้ลูกสาวไปขายเล่นๆ ใครจะรู้ว่ารสชาติอันเป็นเอกลักษณ์นั้น จะสร้างปรากฏการณ์ที่ทำให้ลูกค้าติดใจ จนต้องกลับมาซื้อซ้ำแล้วซ้ำเล่า จากแผงเล็กๆ ริมทาง สู่การตัดสินใจครั้งสำคัญ Swetha และ Venkat เล็งเห็นโอกาสทอง ที่ซ่อนอยู่ในรสชาติอาหารอินเดียใต้ที่มีความแตกต่างและเป็นเอกลักษณ์ พวกเขาเริ่มจริงจังกับการขายโดซ่าทุกวันเสาร์ พร้อมขนเตาแก๊สมาปรุงสดๆ ร้อนๆ สร้างความฮือฮาจนลูกค้าต่อแถวยาวเหยียด เพื่อลิ้มลองโดซ่าราคา 10 ดอลลาร์สหรัฐฯ หรือประมาณ 300 กว่าบาท ที่อร่อยจนหยุดไม่ได้ ความต้องการที่พุ่ง
หลายๆ คนมักหยุดความฝัน หรือความตั้งใจ เพราะคำว่า ‘ไม่พร้อม’ แต่ไม่ใช่กับ ‘คุณสิ-สิรินทร์ กล้วยพนาวัน’ เธอเริ่มต้น ‘ทำเกษตร’ เป็นอาชีพเสริม จากงานเลขา แม้ไม่มีพื้นที่เพาะปลูกของตัวเอง เพราะอาศัยอยู่คอนโด อีกทั้ง ไม่มีเงินทุนมากมาย แต่ก็ไม่คิดนำมาเป็นอุปสรรค ด้วยความตั้งใจจริง เธอลงมือสร้างสวน ‘Sirin garden & edible flower’ บน ‘พื้นที่เช่า’ แม้หลายเสียงจะบอกว่า ‘บ้า’ แต่สำหรับเธอ ทุกก้าวคือการเรียนรู้ ทุกช่วงเวลาคือความสุข และหากรอให้พร้อม หรือรอถึงเกษียณ อาจไม่มีโอกาสได้เริ่มต้น วันนี้คุณสิไม่เพียงแค่ปลูกเอง แต่ยังแบ่งปันความรู้ให้กับคนอื่น ด้วยการจัดเวิร์กช็อปและส่งต่อประสบการณ์จริง ที่สั่งสมมาตลอด 4 ปี อีกด้วย อาชีพเสริมที่เริ่มต้น บนพื้นที่เช่า คุณสิ เริ่มทำเกษตร เพราะอยากให้ลูกมีพื้นที่วิ่งเล่น มีพื้นที่ทำกิจกรรม และเลี้ยงสัตว์ตามความชอบ ซึ่งแนวคิดนี้เกิดขึ้นในช่วงโควิด จากการกลัวลูกติดหน้าจอโทรศัพท์ และด้วยไม่มีพื้นที่ของตัวเอง ‘การเช่าที่’ จึงเป็นทางเลือกที่เธอมองว่า ทุกก้าว คือการเรียนรู้ และทุกช่วงเวลาคือความสุข โดยเช่าที่แรก ซอยประชาชื่น 37 ข้างๆ คอนโด พื้นที่ 100 ตร.ว.
“เดี๋ยวนี้คนใช้ดินสอปากกาลดลง นิยมจดบนไอแพดหรือเทคโนโลยีอื่นๆ กันหมด” ใครยังจำภาพร้านเครื่องเขียนที่เต็มไปด้วยดินสอ ปากกา สมุด และอุปกรณ์นานาชนิดได้บ้าง วันนี้หรือในอนาคตไม่นาน ภาพเหล่านั้นอาจกำลังเลือนหายไป เสียงจากผู้ประกอบการแห่งหนึ่ง ได้จุดประเด็นถึงสถานการณ์ที่น่ากังวล เมื่อ “ร้านเครื่องเขียน” กำลังเผชิญกับภาวะ “เจ๊ง” อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงของยุคสมัย ธุรกิจที่เคยเฟื่องฟูกำลังตกอยู่ในสถานการณ์ที่ยากลำบาก พฤติกรรมของผู้บริโภคที่เปลี่ยนไปอย่างรวดเร็วอาจกลายเป็นสัญญาณเตือนที่สำคัญ เมื่อวันหยุดยาวที่ผ่านมา ผู้เขียนได้เดินทางเข้าไปในตัวเมืองราชบุรี เพื่อไปซื้ออุปกรณ์เครื่องเขียนชนิดหนึ่ง ซึ่งเป็นร้านประจำในทุกๆ ครั้งที่ต้องการซื้อเกี่ยวกับอะไรพวกนี้ แต่วันนี้รู้สึกแปลกตาไปหน่อย เพราะสินค้าต่างๆ เริ่มลดลง จากเมื่อก่อนมีอยู่หนาตา จะเดินไปหยิบอะไรสักอย่างทีแทบจะเอียงตัวเดิน แต่มาวันนี้กลับไม่ใช่ ทุกอย่างดูบางตาไปเกือบหมด ทันทีที่ยืนมองดูบรรยากาศร้านรอบๆ คุณตาเจ้าของร้านวัย 86 ปี เดินออกมาพร้อมพูดว่า “เดี๋ยวไม่นานก็จะปิดแล้ว” ผู้เขียนก็นึกว่าวันนี้มาช่วงเย็นๆ ร้านคงใ
รายได้ 300 ล้านบาทต่อปี! เริ่มต้นอบคุกกี้จากเตาอบเล็กๆ สู่แบรนด์ “Fancypants” กวาดรายได้ปังๆ ใครหลายๆ คนก็มักจะเริ่มต้นอาชีพหรือทำธุรกิจจากความชอบเป็นส่วนใหญ่ แต่จะทำอย่างไรให้เกิดประสิทธิภาพมากที่สุด และได้ผลตอบแทนที่คุ้มค่ากับการลงทุน เรื่องราวของผู้หญิงคนนี้ เริ่มต้นธุรกิจขนมคุกกี้มาจากความชอบ และต่อยอดกลายเป็นธุรกิจ จนสามารถสร้างรายได้ถึง 300 กว่าล้านบาทใน 1 ปี โดยเป็นเรื่องราวของ Maura Duggan ผู้ก่อตั้งและซีอีโอของ Fancypants Baking Co. หลังจาก Maura Duggan สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีสาขาประสาทวิทยาและปริญญาโทสาขาการศึกษาจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด เธอทำงานเป็นนักวิจัยให้กับองค์กรไม่แสวงหากำไรด้านการศึกษา แม้ว่างานนี้จะให้ผลตอบแทนที่คุ้มค่า แต่เธอยังคงคิดถึงความท้าทายตัวเองและเรียนรู้ในรูปแบบที่แตกต่างออกไปได้ การอบขนมเป็นอีกหนึ่งสิ่งที่ช่วยให้เธอคิดถึงความทรงจำเกี่ยวกับแม่และยาย ดังนั้น เมื่อต้องการหารายได้พิเศษก็มักจะหันไปทำครัวและขนมสุดโปรด อย่างคุกกี้ ในปี 2547 เธอเริ่มทำจากครัวเล็กๆ ในคอนโด เมื่อเริ่มต้นจากธุรกิจเล็กๆ กลายเป็นสิ่งที่ใหญ่กว่าอย่างรวดเร็ว และในไม่ช้า เธอก็พบว่าต
“อย่าปล่อยชีวิตหรือลมหายใจของเราออกไปวันๆ หนึ่ง โดยไร้ประโยชน์” เชื่อว่าคนทุกคนไม่อยากที่จะเป็นลูกจ้างของใครไปทั้งชีวิต ต่างหาหนทางในการเป็นเจ้าของธุรกิจ ถึงแม้จะประสบความสำเร็จบ้าง ล้มเหลวบ้าง แต่สิ่งต่างๆ เหล่านั้นล้วนเป็นประสบการณ์ เป็นเสมือนรากฐานตั้งรับให้ตัวเองมีความเข้มแข็งมากขึ้น คุณพรเทพ สกลกาญจนพร วัย 78 ปี เจ้าของร้านกินติมโฮมเมด อดีตพนักงานบริษัทเอกชนที่ลาออกทิ้งเงินเดือนหลายหมื่น มาเปิดบริษัทเป็นของตนเองกับเพื่อน และสุดท้ายล้มเหลว กลายเป็นหนี้ จนสุดท้ายต้องกลับเข้ามาสู่วงโคจรของการเป็นลูกจ้างอีกหน เรื่องราวชีวิตหลังเกษียณ ต้องเผชิญกับปัญหาที่หลายหลากถาโถมเข้ามาไม่เว้นแต่ละวัน ไม่ว่าจะปัญหาทางการเงิน ปัญหาทางครอบครัว จนสุดท้ายจำต้องออกจากบ้านมา พร้อมเงินก้อนสุดท้ายในชีวิต เปิดบริษัทแล้วล้มเหลว เกือบหมดตัว ไอศกรีมชุบชีวิต อย่างที่ได้เล่าไปข้างต้นว่า เปิดบริษัทแล้วล้มเหลว หลังจากเกษียณจากงานมาก็ต้องมาเจอกับปัญหาต่างๆ จึงตัดสินใจออกจากบ้านมาพร้อมเงินที่เหลืออยู่ ในเงินก้อนนั้น เขาเองได้ตัดสินใจซื้อสิ่งที่จำเป็น คือระกระบะคันเก่าๆ ในราคา 50,000 บาท ที่พอจะพาเขาไปหาอาชีพได้ “เ
“ซึมเศร้าหลังหยุดยาว เพราะร่างกายชินกับการพักผ่อน ไม่พร้อมกลับมาเริ่มงาน” รู้จักกับ Post Vacation Blues หรืออาการเฉาหลังหยุดยาว วันหยุดยาวเป็นช่วงเวลาที่หลายคนรอคอย ไม่ว่าจะเป็นการพักผ่อนที่บ้าน การออกเดินทางไปเที่ยวยังสถานที่ต่างๆ หรือใช้เวลากับเพื่อน กับครอบครัว ปาร์ตี้สังสรรค์จนไม่อยากกลับไปทำงานเพราะยังคงสนุกกับสิ่งเหล่านี้อยู่ ทำให้เมื่อวันหยุดยาวสิ้นสุดลง หลายคนต้องเผชิญกับความรู้สึกเศร้าหมอง หรือที่เรียกว่า Post Vacation Blues หรืออาการเฉาหลังหยุดยาว ซึ่งเป็นภาวะอารมณ์ที่เกิดขึ้นหลังจากกลับสู่ชีวิตประจำวัน สามารถพบได้ในทุกวัย ในกลุ่มคนที่มีความเบื่อหน่ายงานของตัวเอง ระยะของอาการจะเป็นอยู่ 2-3 วัน จากนั้นก็จะเข้าสู่ภาวะปกติ Post Vacation Blues คืออะไร? ตามหลักจิตวิทยา ภาวะ Post Vacation Blues ไม่ใช่โรคทางจิตเวช แต่เป็นการตอบสนองของร่างกายและจิตใจต่อการเปลี่ยนแปลงของกิจวัตรและสภาพแวดล้อม ส่วนมากจะมีอาการหมดพลัง ขาดแรงจูงใจ หรือมีความเครียดเมื่อต้องกลับไปเผชิญกับงานหรือกิจวัตรประจำวัน ที่ไม่ได้เต็มไปด้วยความสนุกสนานเหมือนกับช่วงวันหยุด อาการของ Post Vacation Blues 1. เหนื่อยล้าและห