กะเพรา
หลายคนคงคุ้นเคยและรู้จักผักสวนครัวรั้วกินได้ที่เป็นผักกินใบต่างๆ อาทิ กะเพรา โหระพา ซึ่งปัจจุบันกลายเป็นพืชทางเลือกสำหรับเกษตรกรที่ต้องการอาชีพเสริม โดยเกษตรกรหลายคนพลิกวิกฤตเป็นโอกาส เลิกทำนาหันมาปลูกพืชผักเหล่านี้ รับทรัพย์เข้ากระเป๋ากันทุกวัน สำหรับผักสวนครัวตระกูลกะเพรา โหระพา และใบแมงลัก เป็นพืชล้มลุก ใบเป็นรูปไข่ บางและนุ่ม ลำต้นและใบมีขนปกคลุม มีรสเผ็ดร้อน ช่อดอกตั้งตรง มีดอกติดรอบแกนช่อเป็นชั้นๆ จัดเป็นเครื่องเทศที่ยอดนิยม ถือว่าเป็นราชาแห่งเครื่องเทศเลยก็ว่าได้ โดยในปัจจุบันนิยมนำมาใช้ปรุงอาหารและนำมารับประทานเป็นผักเคียงกับอาหารชนิดต่างๆ มณี วงศ์มหิง เกษตรกรผู้ปลูกใบกะเพรา โหระพา และใบแมงลัก จำหน่ายที่ อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี เล่าให้ฟังว่า ก่อนหน้านี้เคยทำนา แต่สู้กับภาวะแล้งไม่ไหว เลยหันมาปลูกผักสวนครัว ซึ่งทำรายได้ทุกวัน ตกวันละ 500 บาท โดยบอกว่า แค่ 1 ไร่ ก็ตัดขายไม่ทันแล้ว “อย่าง กะเพรา เป็นผักสวนครัวที่ปลูกง่าย ชอบดินร่วนซุย ระบายน้ำได้ดี ส่วนการปลูกก็ง่ายมาก ขุดหลุมตื้นๆ ปลูก รดน้ำ แล้วใส่ปุ๋ยคอก จากนั้น รดน้ำวันละครั้ง” สำหรับ กะเพรา ที่ปลูกกันทั่วไปมีอยู่ 2 ชนิด ค
กะเพรา ชื่อวิทยาศาสตร์ Ocimum sanctum เป็นไม้ล้มลุก แตกกิ่งก้านสาขา สูง 30-60 ซ.ม. นิยมนำใบมาประกอบอาหารคือผัดกะเพรา มี 3 พันธุ์ คือ กะเพราแดง กะเพราขาว และกะเพราลูกผสมระหว่างกะเพราแดง และกะเพราขาว เป็นไม้พุ่มเตี้ย สูงประมาณ 1-3 ฟุต ต้นค่อนข้างแข็ง แตกกิ่งก้านสาขามาก ก้านเป็นขน ก้านใบยาว รูปใบเรียว โคนใบรูดในลักษณะเรียว ปลายมน รอบขอบใบเป็นหยัก พื้นใบด้านหน้าสีเขียวหรือแดงแก่กว่าด้านหลัง ซึ่งมีกระดูกใบนูนเห็นได้ชัด ดอกออกเป็นช่อตั้งขึ้นคล้ายฉัตร ออกบริเวณปลายยอดและปลายกิ่ง ดอกย่อยมีขนาดเล็ก รูปคล้ายระฆัง กลีบดอกมีทั้งชนิดสีขาวลายม่วงแดงและสีขาว เมล็ดอยู่ภายในกลีบ กลีบเลี้ยงสีม่วง ผลแห้งแล้ว แตกออก เมื่อเมล็ดแก่สีดำ เมื่อนำไปแช่น้ำเปลือกหุ้มเมล็ดพองออกเป็นเมือก
บริเวณพื้นที่ อ.ลาดหลุมแก้ว จ.ปทุมธานี เป็นหนึ่งในพื้นที่เกษตรกรรมสำคัญของประเทศ เห็นได้จากข้อมูลของสำนักงานเกษตร จ.ปทุมธานี ระบุว่าปี 2558 มีอยู่กว่า 404,700 ไร่ หรือ 42% ของพื้นที่จังหวัดทั้งหมด แต่เกือบทั้งหมดยังเป็นเกษตรเชิงเดี่ยว มีการใช้สารเคมีสูง ทำให้ประสบปัญหาด้านต้นทุนการผลิต และราคาผลผลิตที่ไม่แน่นอน พื้นที่ดังกล่าว บริษัท ซีพีแรม จำกัด ได้เข้าไปจัดทำโครงการเรียนรู้คู่อาชีพ สู่วิถีเกษตรที่ยั่งยืน เพื่อมุ่งหวังยกระดับคุณภาพชีวิตของเกษตรกรในชุมชนรอบโรงงานลาดหลุมแก้ว และสอดคล้องกับนโยบายการดำเนินธุรกิจอย่างยั่งยืนบนหลักธรรมาภิบาลของเครือเจริญโภคภัณฑ์ จึงได้จัดตั้งศูนย์การเรียนรู้ด้านการเกษตรขึ้น “สมคิด พานทอง” เกษตรกรในพื้นที่ เจ้าของแปลงกะเพราป่ากว่า 15 ไร่ เล่าว่าผมเข้าไปศึกษาดูงานเกี่ยวกับการปลูกพืชภายใต้ GAP (Good Agricultural Practices) หรือการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี และเหมาะสมมาตรฐานระดับโลก ซึ่งเป็นแนวทางการเพาะปลูกอย่างยั่งยืน ปลอดภัย ต่อสิ่งแวดล้อม และสังคม “ตั้งแต่ลดการใช้สารเคมี แล้วหันมาใช้สารชีวภาพ หรือจุลินทรีย์เป็นส่วนผสมในการเพาะปลูกตามหลักจีเอพี กะเพราของเราปลอ
กะเพรา – โหระพา ผักสวนครัว เหมือนจะเป็นผักที่หาได้ทั่วไป ไม่มีราคาค่างวดอะไร เพราะซื้อที่ตลาดก็ไม่แพง แต่ภายใต้สิ่งเหล่านี้ กลับพบว่า ใครที่ปลูกขาย มักจะได้เงินกับผักสองชนิดนี้เสมอ เพราะจัดเป็นผักคู่ครัวคนไทยมานานแสนนาน เช่นเดียวกับ คุณวินัย ศรีบัวทิม วัย 50 ปี อยู่บ้านเลขที่ 38/4 หมู่ 3 ต.มหาสวัสดิ์ อ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม ที่มีอาชีพทำนาเป็นหลัก และการทำนา ก็จะมีช่วงว่างเป็นระยะๆ และใช้เวลาว่างปลูกกะเพรา โหระพา ไว้ราว100 ร้อยต้น รอบๆบ้าน สามารถขายเป็นรายได้เสริม เป็นค่ากับข้าว ได้ทุกวัน ตกวันละ 300 บาท เท่ากับค่าแรงขั้นต่ำ แต่หากไม่ต้องเป็นลูกจ้างใคร คุณวินัย เล่าให้ฟังว่า ทั้งกะเพรา และโหระพา เป็นพืชดูแลง่าย ไม่ค่อยเป็นโรค เก็บขายได้ทั้งปี แต่เพื่อให้เจริญงอกงามดี ก็แค่ใส่ปุ๋ยให้ 20 วัน ต่อครั้ง อาจจะใช้สูตร เสมอ หรือสูตร 46-0-0 ก็ได้ ถ้าต้นไหนแก่จัด ก็ตัดทิ้ง และการที่ตัดกิ่งมาเด็ดใบขาย ก็เท่ากับเป็นการตัดแต่งกิ่งไปในตัว อีกไม่นานก็แตกกิ่งใหม่ เมื่อตัดมาแล้ว ล้างน้ำ 1 ครั้ง จากนั้น เด็ดใบ เด็ดช่อ ใส่ฝาชี (หงาย) ผึ่งให้สะเด็ดน้ำ ทำให้ใบผักไม่เน่า ราคารับซื้อ (เด็ดใบแล้ว) อยู่ที่
ฤดูกาลเป็นสิ่งที่เราๆ ท่านๆ อาจลืมกันไปแล้ว ค่าที่ว่าในบางปีนั้น เราแทบไม่รู้สึกว่ามีความแตกต่างใดๆ ด้านภูมิอากาศ แถมเมื่อมองผ่านวัตถุดิบอาหาร ก็ดูเหมือนว่าผักหญ้าในตลาดสดจะมีเหมือนๆ กันทั้งปีอย่างไม่ขาดตกบกพร่องด้วยซ้ำการที่คนแต่ก่อนมักพูดกันว่า “รออีกสักหน่อยเถิด จะมีมะม่วงหวานๆ มีสะเดาขมๆ มันๆ หรือมีทุเรียนหอมๆ กิน” นั้น จึงกลายเป็นเรื่องที่คนสมัยรุ่นปัจจุบันแทบจินตนาการไม่ออกเอาเลยทีเดียว แต่ผมคิดว่าถึงคนจะไม่รู้สึก แต่บรรดาสัตว์และผักหญ้าคงรู้สึกอยู่ เพราะวัตรปฏิบัติตามธรรมชาติของพวกมัน เช่น การเข้าจำศีลก็ดี การทิ้งใบ ผลิดอก ออกฝัก หรือความหอมฉุนต่างๆ ก็ดี ยังคงหมุนเวียนเปลี่ยนไปตามรอบปีอย่างค่อนข้างเป็นปกติอยู่ นั่นทำให้ถึงแม้ฤดูหนาวจะไม่ค่อยหนาวแล้ว แต่ทุกปีผมก็เฝ้ารอช่วงเวลานี้ เพราะผมเป็นคนที่ชอบกิน “ผัดกะเพรา” น่ะซีครับ มันก็เมื่อสักสิบกว่าปีมานี้เองครับ ที่ผมพบขณะขับรถตระเวนไปตามทางหลวงชนบทแถบภาคกลางและภาคอีสานตอนล่าง ว่าข้างทางซึ่งเป็นที่โล่งบ้าง ละเมาะโปร่งๆ หน่อยบ้าง ดินเป็นดินลูกรังแห้งๆ หรือดินปนทรายแล้งๆ นั้น มักมีดงกะเพราแทรกตัวอยู่ในอาณาบริเวณกว้าง กะเพราที่ขึ้นเองต
หลายคนคงคุ้นเคยและรู้จักผักสวนครัวรั้วกินได้ที่เป็นผักกินใบต่างๆ อาทิ กะเพรา โหระพา ซึ่งปัจจุบันกลายเป็นพืชทางเลือกสำหรับเกษตรกรที่ต้องการอาชีพเสริม โดยเกษตรกรหลายคนพลิกวิกฤตเป็นโอกาส เลิกทำนาหันมาปลูกพืชผักเหล่านี้ รับทรัพย์เข้ากระเป๋ากันทุกวัน สำหรับผักสวนครัวตระกูลกะเพรา โหระพา และใบแมงลัก เป็นพืชล้มลุก ใบเป็นรูปไข่ บางและนุ่ม ลำต้นและใบมีขนปกคลุม มีรสเผ็ดร้อน ช่อดอกตั้งตรง มีดอกติดรอบแกนช่อเป็นชั้นๆ จัดเป็นเครื่องเทศที่ยอดนิยม ถือว่าเป็นราชาแห่งเครื่องเทศเลยก็ว่าได้ โดยในปัจจุบันนิยมนำมาใช้ปรุงอาหารและนำมาทานเป็นผักเคียงกับอาหารชนิดต่างๆ ป้ามณี วงศ์มหิง เกษตรกรผู้ปลูกใบกะเพรา โหระพา และใบแมงลัก จำหน่ายที่ อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี เล่าให้ฟังว่า ก่อนหน้านี้เคยทำนา แต่สู้กับภาวะแล้งไม่ไหว เลยหันมาปลูกผักสวนครัว ซึ่งทำรายได้ทุกวัน ตกวันละ 500 บาท โดยบอกว่า แค่ 1 ไร่ ก็ตัดขายไม่ทันแล้ว “อย่างกะเพรา เป็นผักสวนครัวที่ปลูกง่าย ชอบดินร่วนซุย ระบายน้ำได้ดี ส่วนการปลูกก็ง่ายมาก ขุดหลุมตื้นๆ ปลูก รดน้ำ แล้วใส่ปุ๋ยคอก จากนั้น รดน้ำวันละครั้ง” สำหรับกะเพราที่ปลูกกันทั่วไปมีอยู่ 2 ชนิด คือ กะเ