บอนสี
บอนสี เป็นไม้ประดับที่มีความสวยงามทั้งรูปทรงต้นและสีสันของใบ จนได้ชื่อว่าเป็น “ราชินีแห่งไม้ใบ” มีถิ่นกำเนิดแถบทวีปอเมริกาใต้และประเทศในเขตร้อน บอนสีเป็นไม้ล้มลุกที่มีหัวสะสมอาหารอยู่ใต้ดินคล้ายหัวเผือก หัวมัน รากของบอนสีจะมีลักษณะเป็นเส้นฝอย แทงออกระหว่างหัวกับลำต้น ถือเป็นไม้ดอกไม้ประดับที่มีการพัฒนาพันธุ์ที่สำคัญหนึ่งของประเทศเลยก็ว่าได้ เพราะเกษตรกรไทยให้ความสำคัญและสามารถสร้างรายได้จากการปลูกได้ไม่น้อยทีเดียว คุณมนัสนันท์ ยวดทอง อยู่บ้านเลขที่ 91/5 หมู่ที่ 9 หมู่บ้านแสนสบาย ตำบลสัตหีบ อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี ได้สนใจในเรื่องของการปลูกบอนสี โดยเรียนรู้ทุกขั้นตอนด้วยตัวเองจนสามารถขยายบอนสีเพิ่มจำนวนได้มากขึ้น จากนั้นทำการตลาดผ่านโลกโซเชียล จนทำให้สวนของเธอเป็นที่รู้จักและทำการตลาดทั้งจำหน่ายหน้าสวนและส่งขายออนไลน์ได้ชนิดที่ว่าสร้างรายได้ดีไม่น้อยทีเดียว คุณมนัสนันท์ เล่าให้ฟังว่า เดิมทียังไม่ได้มาปลูกบอนสีเป็นแม่บ้านอยู่กับบ้าน ต่อมาต้องการที่จะช่วยเสริมรายได้ให้กับครอบครัว เป็นการแบ่งเบาภาระให้กับสามี จึงได้เรียนรู้การทำอาชีพเสริมที่คิดว่าตัวเธอเองน่าจะถนัดและสามารถทำอยู่กับบ้านได
บอนสีเป็นไม้ประดับที่มีความสวยงามโดดเด่นกว่าไม้ใบชนิดอื่นตรงที่บอนสีมีใบที่ให้สีสรรที่สดใส มีความหลากหลายของสีใบ ใบมีลวดลายงดงาม รูปทรงใบที่แตกต่างกัน และมีทั้งพันธุ์ใบเล็กและใบใหญ่ บอนสีเป็นไม้ใบที่อยู่คู่กับคนไทยมานาน ซึ่งได้มีการพัฒนาสายพันธุ์ลูกผสมใหม่ๆ ขึ้นมา ในแต่ละปีที่มีการจัดประกวดบอนสี ช่วยให้ผู้เลี้ยงบอนสีปรับตัวเองด้วยการสร้างพันธุ์แปลกใหม่ขึ้น การทำเป็นการค้าสำหรับบอนสีถือว่าไม่ใช่เรื่องยาก แต่ก็ต้องใส่ใจพอสมควร โดยเฉพาะช่วงเดือนธันวาคม-มกราคม ที่บอนสีจะพักตัวโดยทิ้งใบ ไม่สร้างใบใหม่ ใบเดิมเหี่ยวแห้งลง มีแต่กระถางปลูก เหลือแต่หัวใต้ดินเท่านั้น ทำให้ผู้เลี้ยงทั่วไปคิดว่าไม่ทนทาน ตายง่าย ไม่สวยงามเหมือนตอนซื้อมาใหม่ๆ วิธีการเลี้ยงบอนสีให้มีใบตลอดปี โดยในช่วงฤดูหนาวต้องเลี้ยงบอนสีในตู้อบ วิธีง่ายๆ โดยใช้ไม้ระแนงมาต่อเป็นโครงรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ากว้าง 1.20 เมตร ยาว 2.50 เมตร ด้านบนทำเป็นหลังคาหน้าจั่วเพื่อป้องกันน้ำขัง ให้หลังคาสูงสัก 15-20 เซนติเมตร แล้วกรุด้วยพลาสติคใส จะได้ตู้อบบอนสีไว้พักเลี้ยงและไว้อบขยายพันธุ์บอนสีได้อย่างดี สำหรับบอนสีที่จะนำเลี้ยงในตู้อบ ต้องมีภาชนะใส่น้
บอนสี เป็นไม้ประดับที่มีความสวยงาม โดยเฉพาะรูปร่างและสีสันของใบ จนได้ชื่อว่าเป็น “ราชินีแห่งไม้ใบ” มีถิ่นกำเนิดแถบทวีปอเมริกาใต้ และประเทศในเขตร้อน บอนสีเป็นไม้ล้มลุกที่มีหัวสะสมอาหารอยู่ใต้ดินคล้ายหัวเผือก หัวมัน รากของบอนสีจะมีลักษณะเป็นเส้นฝอย แทงออกระหว่างหัวกับลำต้น จากการขยายสายพันธุ์ใหม่ ที่มีจำนวนเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ทำให้มีการจัดตั้งสมาคมบอนสีแห่งประเทศไทย เพื่อส่งเสริม อนุรักษ์ และพัฒนาการปลูกเลี้ยง รวมถึงการจดทะเบียนชื่อบอนสีที่ได้รับการผสมพันธุ์ขึ้นมาใหม่ จากความสามารถของคนไทย ทำให้การปลูกเลี้ยงและผสมพันธุ์ของบอนสีไม่เป็นที่ยุ่งยาก หรือเกินความสามารถของผู้ที่สนใจ รวมถึงเกษตรกรผู้ยึดเป็นอาชีพ เหมือนดังเช่นเกษตรกรรายนี้ คือ คุณพิเชษฐ สุดธูป อยู่บ้านเลขที่ 57 หมู่ที่ 6 ตำบลทวีวัฒนา อำเภอไทรน้อย จังหวัดนนทบุรี คุณพิเชษฐ เล่าว่า ผู้ที่ริเริ่มปลูกบอนสีคนแรกในครอบครัว คือ คุณพ่อ ซึ่งสมัยนั้นคุณพ่อของคุณพิเชษฐมีความสนใจในบอนสีมาก เรียกได้ว่ามีการประกวดที่ไหน จะปลูกเลี้ยงบอนสีจนสวยเพื่อส่งเข้าประกวดทุกเวที จึงทำให้คุณพิเชษฐได้เรียนรู้ และรับเทคนิคต่างๆ จากคุณพ่อ เมื่อเวลาผ่านไปนานวัน
บอนสี (Caladium) เป็นพรรณไม้ที่มีหัว หรือเหง้า เป็นลำต้นอยู่ใต้ดิน ส่วนที่โผล่ขึ้นมานั้นเป็นกิ่งก้านของใบ บอนสี เป็นพืชที่มีทรงใบสวยงาม บอนสีในสมัยก่อนเรียกกันว่า “บอนฝรั่ง” จากชื่อทำให้คาดเดาได้ว่าอาจเป็นพืชที่ไม่ได้มีถิ่นกำเนิดในประเทศไทย แต่ปัจจุบันประเทศไทยกลับมีการปลูกและผสมพันธุ์บอนสีขึ้นใหม่มากมาย ทำให้มีสีสันสวยงามแปลกตาจากบอนสีดั้งเดิม และมีการตั้งชื่อของสายพันธุ์ใหม่ๆ ให้มีความไพเราะและเป็นมงคล ปัจจุบัน บอนสีในบ้านเรามีการพัฒนาอย่างมั่นคง เพราะเกษตรกรสามารถนำต้นพ่อแม่พันธุ์มาพัฒนาสายพันธุ์จนได้เกิดเป็นลูกไม้ใหม่ และนำไปตั้งชื่อในแบบที่ตนเองต้องการ จึงทำให้บอนสีที่มีการพัฒนาอยู่เสมอนี่เอง เป็นพรรณไม้ที่ไม่หยุดนิ่งทั้งการพัฒนาและเรื่องของการตลาด แต่สามารถสร้างทั้งความหวังให้กับเกษตรกรและผู้ที่ชื่นชอบในการเป็นจุดเริ่มต้นในการปลูก คุณธีรพัฒน์ ศรีแย้มวงษ์ อยู่บ้านเลขที่ 35/2 หมู่ที่ 4 ตำบลยี่งอ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส เป็นอีกหนึ่งเกษตรกรที่เริ่มทำบอนสี เพราะเกิดจากความชอบ โดยเกิดการซึมซับมาจากคนในครอบครัว จึงทำให้เขาสามารถทำในสิ่งที่ชอบออกมาเป็นลูกไม้ที่มีการพัฒนาพันธุ์ที่ดี สา
ในวงการไม้ดอกไม้ประดับบ้านเราเวลานี้ คนรุ่นใหม่ให้ความสนใจในการเข้ามาปลูกเลี้ยงมากขึ้น ด้วยระบบการศึกษาหาองค์ความรู้ในปัจจุบันที่มีหลายช่องทาง จึงทำให้การจะปลูกเลี้ยงไม้ประดับแต่ละชนิดไม่ใช่เรื่องยาก รวมไปถึงในเรื่องของการทำตลาดด้วยเช่นกัน เพราะระบบการขายออนไลน์ในเวลานี้สามารถขายสินค้าได้ง่ายขึ้นอีกด้วย บอนสี (Caladium) สมัยก่อนอาจมองดูว่าเป็นไม้ที่ต้องดูแลยาก และระบบการขนส่งที่ค่อนข้างใช้ความระมัดระวัง แต่ด้วยระบบการขนส่งยุคนี้ได้รองรับการค้าขายต้นไม้มากขึ้น จึงทำให้เกษตรกรส่งสินค้าถึงมือลูกค้าได้อย่างปลอดภัยตามไปด้วย ไม่ว่าลูกค้าจะอยู่ห่างไกลออกไป สินค้าที่สั่งซื้อก็ยังคงสภาพดีไม่เสียหาย คุณกันตพงศ์ วงษ์ทอง อยู่บ้านเลขที่ 145/1 หมู่ที่ 1 ตำบลคำพราน อำเภอวังม่วง จังหวัดสระบุรี จบปริญญาตรี สาขาวิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ (มทร.สุวรรณภูมิ) มีความสนใจในการปลูกบอนสีตั้งแต่ยังเป็นเด็ก เมื่อเขาโตขึ้นจึงได้ยึดมาทำเป็นอาชีพเสริมควบคู่ไปกับการทำงานประจำเพื่อสร้างรายได้ คุณกันตพงศ์ เล่าให้ฟังว่า สมัยเมื่อเรียนอยู่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ได้ปลูกเ
บอนสี (Caladium) เป็นพรรณไม้ที่มีหัว หรือเหง้าเป็นลำต้นอยู่ใต้ดิน ส่วนที่โผล่ขึ้นมานั้นเป็นกิ่งก้านของใบ บอนสี เป็นพืชที่มีทรงใบสวยงาม ใบจะมีลักษณะแผ่กว้าง บางสายพันธุ์มีใบที่ใหญ่มาก โดยลักษณะของใบบอนมีรูปทรงออกไปทางแหลม โคนใบมนเว้าคล้ายรูปหัวใจ และใบจะมีลาย หรือสีที่แตกต่างกันออกไปแล้วแต่ชนิดของบอน ในส่วนของก้านในนั้นมีลักษณะที่อ่อนและยาว โคนก้านจะมีกาบห่อหุ้ม บอนสี ในสมัยก่อนเรียกกันว่า “บอนฝรั่ง” จากชื่อทำให้คาดเดาได้ว่าอาจเป็นพืชที่ไม่ได้มีถิ่นกำเนิดในประเทศไทย แต่ปัจจุบันประเทศไทย กลับมีการปลูกและผสมพันธุ์บอนสีขึ้นใหม่มากมายทำให้มีสีสันสวยงามแปลกตาจากบอนสีดั้งเดิม และมีการตั้งชื่อของสายพันธุ์ใหม่ๆ ให้มีความไพเราะและเป็นมงคล คุณณุกานดา วัฒนะวิทย์ อยู่บ้านเลขที่ 999/135 หมู่ที่ 6 ตำบลวัดไทร อำเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์ เห็นความพิเศษของบอนสีว่า เป็นพืชที่มีความสวยเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว จึงได้ทำการเพาะเลี้ยงบอนสีและหมั่นเรียนรู้อยู่เสมอ ทำให้ปัจจุบันเธอขยายพันธุ์บอนสีสร้างเป็นอาชีพเสริมรายได้ ควบคู่ไปกับการทำงานประจำ ทำให้นอกจากเกิดรายได้เสริมแล้ว ยังสามารถทำสิ่งที่รักไปพร้อมๆ กันอีกด้ว
บอนสี เป็นไม้ประดับที่มีความสวยงามโดดเด่นกว่าไม้ใบชนิดอื่นตรงที่บอนสีมีใบที่ให้สีสันที่สดใส มีความหลากหลายของสีใบ ใบมีลวดลายงดงาม รูปทรงใบที่แตกต่างกัน และมีทั้งพันธุ์ใบเล็กและใบใหญ่ บอนสี เป็นไม้ใบที่อยู่คู่กับคนไทยมานาน ซึ่งได้มีการพัฒนาสายพันธุ์ลูกผสมใหม่ๆ ขึ้นมา ในแต่ละปีที่มีการจัดประกวดบอนสี ช่วยให้ผู้เลี้ยงบอนสีปรับตัวเองด้วยการสร้างพันธุ์แปลกใหม่ขึ้น การทำเป็นการค้าสำหรับบอนสีถือว่าไม่ใช่เรื่องยาก แต่ก็ต้องใส่ใจพอสมควร โดยเฉพาะช่วงเดือนธันวาคม-มกราคม ที่บอนสีจะพักตัวโดยทิ้งใบ ไม่สร้างใบใหม่ ใบเดิมเหี่ยวแห้งลง มีแต่กระถางปลูก เหลือแต่หัวใต้ดินเท่านั้น ทำให้ผู้เลี้ยงทั่วไปคิดว่าไม่ทนทาน ตายง่าย ไม่สวยงามเหมือนตอนซื้อมาใหม่ๆ วิธีการเลี้ยงบอนสีให้มีใบตลอดปี โดยในช่วงฤดูหนาวต้องเลี้ยงบอนสีในตู้อบ วิธีง่ายๆ โดยใช้ไม้ระแนงมาต่อเป็นโครงรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 1.20 เมตร ยาว 2.50 เมตร ด้านบนทำเป็นหลังคาหน้าจั่วเพื่อป้องกันน้ำขัง ให้หลังคาสูงสัก 15-20 เซนติเมตร แล้วกรุด้วยพลาสติกใส จะได้ตู้อบบอนสีไว้พักเลี้ยงและไว้อบขยายพันธุ์บอนสีได้อย่างดี สำหรับบอนสีที่จะนำเลี้ยงในตู้อบ ต้องมีภาชนะใส
บอนสี เป็นไม้ใบที่อยู่คู่กับคนไทยมานาน ซึ่งได้มีการพัฒนาสายพันธุ์ลูกผสมใหม่ๆ ขึ้นมา ในแต่ละปีที่มีการจัดประกวดบอนสี จะช่วยให้ผู้เลี้ยงบอนสีปรับตัวเองด้วยการสร้างพันธุ์แปลกใหม่ขึ้น การทำเป็นการค้าสำหรับบอนสีถือว่าไม่ใช่เรื่องยาก แต่ก็ต้องใส่ใจพอสมควร โดยเฉพาะช่วงเดือนธันวาคม-มกราคม ที่บอนสีจะพักตัวโดยทิ้งใบ ไม่สร้างใบใหม่ ใบเดิมเหี่ยวแห้งลง มีแต่กระถางปลูก เหลือแต่หัวใต้ดินเท่านั้น ทำให้ผู้เลี้ยงทั่วไปคิดว่าไม่ทนทาน ตายง่าย ไม่สวยงามเหมือนตอนซื้อมาใหม่ๆ วิธีการเลี้ยงบอนสีให้มีใบตลอดปี โดยในช่วงฤดูหนาวต้องเลี้ยงบอนสีในตู้อบ วิธีง่ายๆ โดยใช้ไม้ระแนงมาต่อเป็นโครงรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 1.20 เมตร ยาว 2.50 เมตร ด้านบนทำเป็นหลังคาหน้าจั่วเพื่อป้องกันน้ำขัง ให้หลังคาสูงสัก 15-20 เซนติเมตร แล้วกรุด้วยพลาสติกใส จะได้ตู้อบบอนสีไว้พักเลี้ยงและไว้อบขยายพันธุ์บอนสีได้อย่างดี สำหรับบอนสีที่จะนำเลี้ยงในตู้อบ ต้องมีภาชนะใส่น้ำเพื่อไว้รองก้นกระถางบอนสีไว้ด้วย โดยใส่น้ำให้มีความสูงจากก้นภาชนะที่ใช้รองกระถางบอนสีสัก 2-3 เซนติเมตร หรือประมาณ 1 นิ้ว ทำอย่างนี้แล้วบอนสีจะไม่พักตัว จะแตกใบใหม่และเติบโตอย่าง
คุณพิเชษฐ สุดธูป อยู่บ้านเลขที่ 57 หมู่ที่ 6 ตำบลทวีวัฒนา อำเภอไทรน้อย จังหวัดนนทบุรี เล่าว่า ผู้ที่ริเริ่มปลูกบอนสีคนแรกในครอบครัว คือ คุณพ่อ ซึ่งสมัยนั้นคุณพ่อของคุณพิเชษฐมีความสนใจในบอนสีมาก เรียกได้ว่ามีการประกวดที่ไหน จะปลูกเลี้ยงบอนสีจนสวยเพื่อส่งเข้าประกวดทุกเวที จึงทำให้คุณพิเชษฐได้เรียนรู้ และรับเทคนิคต่างๆ จากคุณพ่อ เมื่อเวลาผ่านไปนานวัน จากที่ปลูกและดูแลตามคุณพ่อ ทำให้คุณพิเชษฐเกิดความรักที่อยากจะทำบอนสีด้วยตนเอง “สมัยนั้นผมเรียนหนังสืออยู่ ก็จะเห็นพ่อผมไปประกวด หาไม้จากที่ต่างๆ มา ผมก็เลยช่วยพ่อทำ ทำให้ผมได้เรียนรู้จากพ่อ และใจผมก็เริ่มชอบ เพราะเรามีไม้เข้าประกวดเยอะ ก็เลยเห็นช่องทาง ว่าเมื่อผมโตขึ้น อาจทำเป็นธุรกิจได้ แต่ช่วงนั้นผมก็ยังไม่ได้มาทำเต็มตัว หลังเรียนจบ ยังไปทำงานบริษัทอยู่ แต่พอทำงานบริษัทไป มันรู้สึกว่ามันไม่ใช่ ก็เลยออกจากงาน มาทำด้านนี้เต็มตัว” คุณพิเชษฐ เล่าถึงจุดเริ่มต้นของการเป็นเกษตรกรผู้ปลูกเลี้ยงบอนสี เมื่อลาออกจากงานบริษัท คุณพิเชษฐ จึงเริ่มปลูกบอนสีด้วยตนเอง เป็นอาชีพหลัก เมื่อประมาณ ปี 2546 ซึ่งก่อนหน้านั้นทำเป็นเพียงอาชีพเสริม ช่วงแรกของการทำสวน จ
บอนสี เป็นไม้ประดับที่มีความสวยงาม โดยเฉพาะรูปร่างและสีสันของใบ จนได้ชื่อว่าเป็น “ราชินีแห่งไม้ใบ” มีถิ่นกำเนิดแถบทวีปอเมริกาใต้ และประเทศในเขตร้อน บอนสีเป็นไม้ล้มลุกที่มีหัวสะสมอาหารอยู่ใต้ดินคล้ายหัวเผือก หัวมัน รากของบอนสีจะมีลักษณะเป็นเส้นฝอย แทงออกระหว่างหัวกับลำต้น จากการขยายสายพันธุ์ใหม่ ที่มีจำนวนเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ทำให้มีการจัดตั้งสมาคมบอนสีแห่งประเทศไทย เพื่อส่งเสริม อนุรักษ์ และพัฒนาการปลูกเลี้ยง รวมถึงการจดทะเบียนชื่อบอนสีที่ได้รับการผสมพันธุ์ขึ้นมาใหม่ จากความสามารถของคนไทย ทำให้การปลูกเลี้ยงและผสมพันธุ์ของบอนสีไม่เป็นที่ยุ่งยาก หรือเกินความสามารถของผู้ที่สนใจ