จากชุมชนที่มีความเป็นอยู่ยากลำบากมานานกว่า 1 ศตวรรษ เนื่องจากการบุกรุกทำลายป่าเพื่อขยายพื้นที่ทำกิน
และปลูกพืชเชิงเดี่ยวขาดความหลากหลายในการทำกิน สู่ชุมชนที่ทุกคนพร้อมใจกันที่ลุกขึ้นมาเรียนรู้กับปัญหาและพยายามที่จะร่วมกันจัดการ
เพื่อหาทางออก ภายใต้ระเบียบกติกาและข้อตกลงร่วมกันจนประสบความสำเร็จมีวิถีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ก่อให้อาชีพที่ยั่งยืน
#เสียงจากแผ่นดิน #ศาสตร์พระราชา #มูลนิธิปิดทองหลังพระ #บ้านเลาวู #ลีซู #เชียงใหม่ #พัฒนาป่า
MOST POPULAR
ก่อนที่จะลงมือปลูกไม้เศรษฐกิจ เรามารู้จักความหมายกันก่อนดีกว่า ไม้เศรษฐกิจ หมายถึง ไม้ยืนต้นทุกชนิด รวมถึงไผ่ที่ปลูก หรือขึ้นเองตามธรรมชาติ อยู่นอกเขตป่าอนุรักษ์ที่มีการใช้ประโยชน์เนื้อไม้ หรือผลิตผลอื่นที่ไม่ใช่เนื้อไม้เพื่อการค้า ดังนั้น อาจกล่าวโดยรวมว่า ไม้มีค่าทางเศรษฐกิจเป็นไม้ที่สามารถนำมาสร้างมูลค่าหรือแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์อื่นๆ รวมทั้งให้ประโยชน์ทางตรงและทางอ้อมแก่ผู้ปลูก นำไปสู่แนวทางส่งเสริมการปลูกไม้เศรษฐกิจ ตามนโยบายแก้ปัญหาเศรษฐกิจฐานรากของรัฐบาลที่จะส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกไม้เศรษฐกิจในที่ดินกรรมสิทธิ์ หรือสิทธิครอบครองที่ดินอันชอบด้วยกฎหมาย ไม่เป็นไม้หวงห้าม เหมือนการปลูกพืชทั่วไป การตัด ขาย ขนย้าย แปรรูป ไม่ต้องขออนุญาตหรือจะให้เจ้าหน้าที่รับรองไม้เพื่อการค้าการส่งออกก็ได้ โดยการยื่นคำขอขึ้นทะเบียนที่ดินเป็นสวนป่า วันนี้เทคโนโลยีชาวบ้านได้รวบรวมไม้เศรษฐกิจ 5 ชนิดมาฝาก และเหมือนจะเป็นไม้นอกสายตาที่หลายคนยังไม่รู้ว่าไม้ชนิดนี้เป็นไม้เศรษฐกิจและมีเนื้อไม้ที่สวยงามมากๆ แถมผลยังกินได้อีกด้วย 1. มะริด มะริดเป็นไม้โบราณดั้งเดิมของไทย อยู่ในกลุ่มไม้เศรษฐกิจที่มีแนวโน้มดี เนื่องจาก
ปัจจุบัน “ชันโรง” หรือผึ้งจิ๋ว นับเป็นแมลงเศรษฐกิจตัวใหม่ที่น่าจับตามอง เนื่องจากดูแลจัดการง่าย แถมให้ผลตอบแทนสูง ชันโรงเป็นแมลงที่ช่วยผสมเกสรคล้ายผึ้ง ช่วยเพิ่มคุณภาพผลผลิตทางการเกษตรแล้ว ยังมีผลพลอยอีกมากมาย เช่น การขายตัวอ่อนนางพญาผึ้งชันโรง การขายน้ำผึ้งชันโรง ยางไม้ (ชัน) หรือ พรอพโพลิส (Propolis) ที่อุดมด้วยคุณค่าโภชนาการ สามารถนำมาสร้างมูลค่าเพิ่มโดยแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์เสริมความงามได้หลายชนิด อาทิ สบู่ หรือโลชั่น ฯลฯ น้ำผึ้งชันโรงไม่ได้เป็นแค่อาหาร แต่มีสรรพคุณทางยา ถือเป็นยาอายุวัฒนะ เพราะชันโรงมีพฤติกรรมเก็บน้ำหวานจากดอกไม้และละอองเกสรของพืชที่มีคุณสมบัติทางยามาใช้เป็นอาหารเช่นเดียวกับผึ้ง ชันโรงดูดน้ำหวานดอกไม้ 20 เปอร์เซ็นต์ และเก็บเกสรดอกไม้ 80 เปอร์เซ็นต์ ขณะที่ผึ้งทั่วไปมักดูดน้ำหวานจากดอกไม้ 80 เปอร์เซ็นต์ และเก็บเกสรดอกไม้ 20 เปอร์เซ็นต์ ปัจจุบัน น้ำผึ้งชันโรงขายได้ราคาแพงกว่าน้ำผึ้งทั่วไป เพราะมีคุณค่าทางโภชนาการสูง มีส่วนประกอบของสารฟลาโวนอยด์ซึ่งเป็นสารต้านอนุมูลอิสระ ป้องกันและยับยั้งเซลล์มะเร็ง มีฤทธิ์ต้านการอักเสบ สมานแผล และช่วยบำรุงสมอง อยากรู้เรื่อง “ชันโรง”ต้อง
“ แมวยักษ์ เมนคูน “ เป็นหนึ่งในสัตว์เลี้ยงแสนรัก ของใครหลายๆ คนที่ชื่นชอบการเลี้ยงแมว เพราะแมวสายพันธุ์เมนคูน มีเอกลักษณ์เด่นเฉพาะตัว คือ หน้าตาดุเหมือนเสือ ลายเหมือนเสือ รูปร่างใหญ่ แต่เป็นแมวที่ใจดีมาก นิสัยดี อุ้ม กอด ฟัด จับ ได้ทั้งหมด ลักษณะเด่นของเมนคูน เมนคูนเป็นแมวสายพันธุ์ขนยาว มีต้นกำเนิดจากการผสมข้ามพันธุ์ของแมวพื้นเมืองกับแมวป่าทางตอนเหนือของสหรัฐอเมริกา ซึ่งคำว่า “เมน” มาจากถิ่นกำเนิดอยู่ที่รัฐ Maine ประเทศสหรัฐอเมริกา ส่วนคำว่า “คูน” เชื่อกันว่า อาจจะมาจากลักษณะที่คล้ายกับตัวแร็กคูน คือมีหางเป็นพวง มีสีและลวดลายน้ำตาลที่มีลักษณะเหมือนแร็กคูน ลักษณะของแมวเมนคูน เป็นแมวที่มีขนาดใหญ่ โครงสร้างและรูปร่างใหญ่โต แต่สมส่วนสมดุล มีความแข็งแรงและสง่างาม หัวใหญ่ หน้าผากกว้าง โหนกแก้มสูง มีใบหน้าคล้ายเสือ มีอกกว้าง ขนยาวหนา ขนมันเงาคล้ายเส้นไหม ในเพศผู้จะมีแผงคอที่หนากว่าเพศเมีย ใบหูชี้ตั้ง ปลายแหลม มีขนขึ้นที่ปลายหูคล้ายแมวป่า และมีอุ้งเท้าขนาดใหญ่ แมวสายพันธุ์เมนคูน มีความสูงมาตรฐานอยู่ที่ 10-16 นิ้ว หรือ 25.4-41 เซนติเมตร มีความยาวลำตัวจนสุดปลายหางมาตรฐานอยู่ที่ 32-48 นิ้ว หรือ
โกสนจัดเป็นไม้มงคล ที่คนไทยรู้จักและคุ้นเคยกันดี เนื่องจากชื่อ “ โกสน” เป็นคำพ้องเสียงกับคำว่า “กุศล” หมายถึง การสร้างบุญงาม ความดี จึงนิยมปลูกโกสนไว้หน้าบ้าน ในทางทิศตะวันออกของบ้าน มาตั้งแต่สมัยโบราณ เพื่อเป็นไม้เสริมสิริมงคล ให้ทุกคนในครอบครัวอยู่เย็นเป็นสุข ความมีเสน่ห์ของโกสนอยู่ที่ลวดลายใบที่สวยงามสลับเฉดสีต่างๆ เช่น เฉดสีชมพูก็จะมีสีเขียวเข้มมีชมพูเข้ม เส้น ลายใบชัดเจน เฉดสีเหลืองก็จะออกสีไล่เลี่ยกันในโทนเหลือง เป็นต้น โกสน มีชื่อภาษาอังกฤษว่า โคร-ออน (Croton) เป็นไม้ประดับประเภทไม้พุ่ม ที่มีใบเป็นจุดเด่น โดยใบมีรูปทรงและสีที่สวยงามแตกต่างไปกับพรรณไม้อื่นๆ นิยมเป็นไม้กระถาง ให้มีลักษณะทรงพุ่มเล็กๆ หากต้องการให้มีทรงพุ่มใหญ่ จะใช้วิธีปลูกลงดิน โกสนมีทั้งใบเล็ก-ใบใหญ่ ต้นโกสนเป็นไม้พุ่มที่มีขนาดตั้งแต่ พุ่มเล็ก จนถึงพุ่มใหญ่ ลักษณะเด่นของพันธุ์ไม้นี้คือ ทรงของใบมีหลายลักษณะผันแปรตามธรรมชาติ และมีเด่นที่ใบมีหลายสี เช่น เหลือง ส้ม ม่วง ขาว ชมพู ดำ และยังมีลักษณะใบลูกผสม ที่มีการพัฒนาสายพันธุ์ใหม่ๆ ขึ้นมา โกสนที่ใช้เป็นไม้ประดับงดงามนั้นมีชนิด (species) เดียวคือ โคเดียมหรือโคดิเอี้ยม