ปลาหมอ
เรียน คุณหมอเกษตร ทองกวาว ที่นับถือ ผมสนใจการเพาะเลี้ยงปลาหมอไทย เพราะเห็นว่าตลาดมีความต้องการ จึงขอเรียนถามว่า ปลาชนิดนี้มีรูปร่างหน้าตาเป็นอย่างไร และมีนิสัยเป็นอย่างไร ถ้าจะเปรียบเทียบปลาสลิดแล้ว ปลาชนิดไหนเลี้ยงง่ายกว่ากัน สำหรับแหล่งจำหน่ายพันธุ์จะติดต่อที่ไหน ผมขอความกรุณาคุณหมอเกษตรแนะนำด้วยครับ ขอแสดงความนับถืออย่างสูง วินัย สุขนันทพัฒน์ ตอบ คุณวินัย สุขนันทพัฒน์ ปลาหมอ หรือ ปลาหมอไทย (Climbing Perch : Anabas testudineus) ปลาสายพันธุ์นี้พบอาศัยอยู่ตามแหล่งน้ำจืดทั่วไป ที่จีนตอนใต้ ไทย พม่า อินเดีย เวียดนาม ลาว ฟิลิปปินส์ และออสเตรเลีย ปลาหมอดังกล่าว เจริญเติบโตได้ดีทั้งในน้ำจืดและน้ำกร่อย นอกจากนี้แล้ว ยังมีความสามารถพิเศษในการหมกตัวอยู่ในโคลนตมได้เป็นเวลานานกว่าปลาสายพันธุ์อื่นๆ ปลาหมอเป็นปลากินเนื้อ ชอบกินสัตว์น้ำขนาดเล็ก เช่น ตัวอ่อนของแมลงที่อาศัยอยู่ในน้ำ กุ้งฝอย หรือลูกปลาขนาดเล็ก แม้แต่เมล็ดข้าว และเมล็ดธัญพืชอื่นๆ ก็เป็นอาหารโปรดอีกด้วย รูปร่างปลาหมอ มีลำตัวป้อม ด้านข้างแบน ลำตัวยาวเป็นสามเท่าของความลึก ที่วัดจากสันหลังลงมาที่หน้าท้อง ลำตัวมีสีน้ำตาลเหลืองปนดำ ส่วนท้องม
ปลาหมอ เป็นปลาพื้นบ้านของประเทศที่มีรสชาติค่อนข้างดี และยังเป็นที่นิยมของคนไทยทั่วทุกภาค ปัจจุบัน ปลาหมอ ในแหล่งน้ำธรรมชาติเริ่มมีจำนวนลดลง เกิดจากสภาพแวดล้อมที่เสื่อมโทรม ความแห้งแล้ง และที่สำคัญมีการจับปลาเพื่อบริโภคเพิ่มมากขึ้น จึงทำให้จำนวนปลาหมอมีไม่เพียงพอต่อความต้องการ ปัจจุบันการเพาะเลี้ยงปลาหมอกำลังเป็นที่นิยม นับว่าเป็นอาชีพที่ทำเงินได้อีกอาชีพหนึ่งกันเลยทีเดียว เพราะตลาดกำลังต้องการ จึงนำมาเลี้ยงในเชิงการค้ามากขึ้น เพื่อตอบสนองต่อความต้องการของผู้บริโภค คุณธนวัตน์ คำเฟือง เป็นเกษตรกรที่เลี้ยงปลาหมอ อยู่ที่ตำบลปากพระ อำเภอเมืองสุโขทัย จังหวัดสุโขทัย ซึ่งเขามองเห็นถึงในเรื่องราคาของปลาหมอว่าน่าสนใจ เมื่อเปรียบเทียบกับการเลี้ยงปลาชนิดอื่น จึงได้นำมาทดลองเลี้ยงจนประสบผลสำเร็จเป็นงานที่สร้างเงินให้กับเขาได้เป็นอย่างดี งานประจำหนุ่มโรงงาน เลี้ยงปลาเป็นอาชีพเสริม คุณธนวัตน์ เล่าให้ฟังว่า เลี้ยงปลาเพื่อเป็นอาชีพเสริมหลังว่างจากทำงานประจำ เพราะมองว่าถ้างานด้านนี้ดีก็จะหันมาทำเป็นอาชีพหลักในอนาคต ซึ่งก่อนที่จะลงมือเลี้ยงจึงได้ศึกษาและทดลองเลี้ยงมาตั้งแต่ปี 2557 โดยเปรียบเทียบระ
คุณดิชา นุวงษ์วรรณ์ อยู่บ้านเลขที่ 68/1 หมู่ที่ 3 ตำบลวังน้ำเย็น อำเภอบางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบุรีจากพนักงานโรงงานได้ค่าแรงขั้นต่ำ 300 บาท เกิดความคิดไม่อยากเป็นลูกจ้างไปตลอดชีวิต จึงมองหาอาชีพที่คิดว่าเป็นนายตัวเอง มีรายได้ที่แน่นอน มีความสนใจที่จะเลี้ยงปลาในบ่อดิน เริ่มต้นก่อนที่จะเลี้ยงปลาหมอ คุณดิชา เล่าว่า ศึกษาทุกอย่างที่เกี่ยวกับปลาหมอ ไม่ว่าจะหาหนังสือมาอ่าน ตลอดจนศึกษาหาความรู้จากเว็บไซต์ต่างๆ ที่สามารถนำมาปรับใช้กับสิ่งที่คุณดิชาจะลงมือทำ เพราะเชื่อว่าการศึกษาหาความรู้ก่อนลงมือปฏิบัติสำคัญมาก ต้องให้รู้ทั้งข้อดีและข้อเสีย ตลอดจนวิธีการต่างๆ เพื่อให้เกิดความเสียหายน้อยที่สุด เพราะเงินทุนที่ใช้ต้องให้เกิดประโยชน์สูงสุด มิเช่นนั้นจะกลายเป็นขาดทุน และเพิ่มหนี้สินได้ หากไม่คิดให้รอบคอบ คุณดิชา เล่าว่า เมื่อศึกษาหาข้อมูลพอสมควร จึงลงมือปฏิบัติ โดยขั้นตอนแรกสำรวจพื้นที่ที่บ้าน ว่าต้องการขุดบ่อสำหรับเลี้ยงปลาหมอตรงบริเวณไหน เริ่มแรกเดิมทีคุณดิชาทดลองเลี้ยงเพียง 1 บ่อ แต่ตอนนี้ขุดเพิ่มอีก 2 บ่อ รวมตอนนี้มีทั้งหมด 3 บ่อ บ่อที่ขุดสำหรับเลี้ยงปลาหมอ อยู่ที่ขนาด 10×20 เมตร ความลึกของบ
ปลาหมอ เป็นอีกหนึ่งปลาน้ำจืดที่มีการเลี้ยงในหลายพื้นที่ เนื่องมาจากหลายปีที่ผ่านมาปลาหมอในแหล่งน้ำธรรมชาติเริ่มมีจำนวนที่ลดลง หรืออาจหานำมาประกอบอาหารได้ยากขึ้น จึงทำให้เกิดการเพาะพันธุ์และเลี้ยงกันในหลายพื้นที่เพื่อตอบสนองต่อความต้องการของตลาด เพราะปลาหมอเป็นปลาที่นำมาประกอบอาหารได้หลายเมนู ไม่ว่าจะแกง หรือปิ้ง ก็มีรสชาติที่ดีและเนื้อนุ่ม อร่อย จึงเป็นปลาที่ตลาดยังมีความต้องการบริโภคอย่างต่อเนื่อง คุณณัฐวัฒน์ บำเหน็จพันธุ์ ทำฟาร์มปลาหมออยู่ที่บ้านหนองนาลุ่ม ตำบลหมื่นไวย อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา ได้เล็งเห็นถึงการเลี้ยงปลาหมอสร้างรายได้ จึงได้ทดลองเลี้ยงปลาหมอบนพื้นที่ว่างของตัวเอง และต่อมาได้เพาะพันธุ์ลูกปลาหมอเพื่อใช้เลี้ยงในฟาร์ม มีบางส่วนผลิตจำหน่ายให้กับเกษตรกรที่สนใจเลี้ยงเป็นปลาเนื้อ สร้างรายได้อีกหนึ่งช่องทาง คุณณัฐวัฒน์ เล่าให้ฟังว่า ย้อนไปเมื่อหลายปีก่อนยังไม่ได้เริ่มมาทำการเกษตร สมัยนั้นเป็นพนักงานเกี่ยวกับการค้าขายอาหารกุ้ง ต่อมาเริ่มมองเห็นช่องทางการทำอาชีพบนเนื้อที่ของตัวเอง จึงได้กลับมาขุดบ่อเพื่อเลี้ยงปลา เพราะมองว่าที่ดินของเขาเองนั้นยังสามารถทำประโยชน์ได้หลายอย่าง
คุณธนวัตน์ คำเฟือง เป็นเกษตรกรที่เลี้ยงปลาหมออยู่ที่ตำบลปากพระ อำเภอเมืองสุโขทัย จังหวัดสุโขทัย ซึ่งเขามองเห็นถึงในเรื่องราคาของปลาหมอว่าน่าสนใจ เมื่อเปรียบเทียบกับการเลี้ยงปลาชนิดอื่น จึงได้นำมาทดลองเลี้ยงจนประสบผลสำเร็จเป็นงานที่สร้างเงินให้กับเขาได้เป็นอย่างดี คุณธนวัตน์ เล่าให้ฟังว่า เลี้ยงปลาเพื่อเป็นอาชีพเสริมหลังว่างจากทำงานประจำ เพราะมองว่าถ้างานด้านนี้ดีก็จะหันมาทำเป็นอาชีพหลักในอนาคต ซึ่งก่อนที่จะลงมือเลี้ยงจึงได้ศึกษาและทดลองเลี้ยงมาตั้งแต่ปี 2557 โดยเปรียบเทียบระหว่างการเลี้ยงปลานิลกับปลาหมอ ว่าปลาชนิดไหนเลี้ยงแล้วจะให้ผลตอบแทนดีกว่ากัน “ช่วงนั้นทดลองเอาปลาหมอกับปลานิล มาทดลองเลี้ยงในกระชังก่อน ปรากฏว่าปลาหมอมันไม่โต แต่ปลานิลโตดีกว่า ซึ่งช่วงนั้นก็ทำกระชังเลี้ยงในบ่อดิน พอทดลองไปเรื่อยๆ ก็เริ่มเห็นความแตกต่างของปลา 2 ชนิดนี้ เห็นว่าปลาหมอเลี้ยงได้ดีในบ่อดิน ก็เลยตัดสินใจเลี้ยงปลาหมอแทน เพราะเรื่องของราคาก็ได้ผลตอบแทนที่ดีกว่ามาก ก็เลยตกลงปลงใจตั้งแต่นั้นมา” คุณธนวัตน์ เล่าถึงที่มา คุณธนวัตน์ บอกว่า เมื่อเลี้ยงปลาหมอมาหลายรุ่นจนจับขายได้เรื่อยๆ ก็รู้สึกว่าปลาชนิดนี้ให้ผลตอบ
คุณดิชา นุวงษ์วรรณ์ อยู่บ้านเลขที่ 68/1 หมู่ที่ 3 ตำบลวังน้ำเย็น อำเภอบางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบุรีจากพนักงานโรงงานได้ค่าแรงขั้นต่ำ 300 บาท เกิดความคิดไม่อยากเป็นลูกจ้างไปตลอดชีวิต จึงมองหาอาชีพที่คิดว่าเป็นนายตัวเอง มีรายได้ที่แน่นอน มีความสนใจที่จะเลี้ยงปลาในบ่อดิน เริ่มต้นก่อนที่จะเลี้ยงปลาหมอ คุณดิชา เล่าว่า ศึกษาทุกอย่างที่เกี่ยวกับปลาหมอ ไม่ว่าจะหาหนังสือมาอ่าน ตลอดจนศึกษาหาความรู้จากเว็บไซต์ต่างๆ ที่สามารถนำมาปรับใช้กับสิ่งที่คุณดิชาจะลงมือทำ เพราะเชื่อว่าการศึกษาหาความรู้ก่อนลงมือปฏิบัติสำคัญมาก ต้องให้รู้ทั้งข้อดีและข้อเสีย ตลอดจนวิธีการต่างๆ เพื่อให้เกิดความเสียหายน้อยที่สุด เพราะเงินทุนที่ใช้ต้องให้เกิดประโยชน์สูงสุด มิเช่นนั้นจะกลายเป็นขาดทุน และเพิ่มหนี้สินได้ หากไม่คิดให้รอบคอบ (ซ้าย) คุณดิชา นุวงษ์วรรณ์ คุณดิชา เล่าว่า เมื่อศึกษาหาข้อมูลพอสมควร จึงลงมือปฏิบัติ โดยขั้นตอนแรกสำรวจพื้นที่ที่บ้าน ว่าต้องการขุดบ่อสำหรับเลี้ยงปลาหมอตรงบริเวณไหน เริ่มแรกเดิมทีคุณดิชาทดลองเลี้ยงเพียง 1 บ่อ แต่ตอนนี้ขุดเพิ่มอีก 2 บ่อ รวมตอนนี้มีทั้งหมด 3 บ่อ บ่อที่ขุดสำหรับเลี้ยงปลาหมอ อยู่ที่ขนาด
คุณธนวัตน์ คำเฟือง เป็นเกษตรกรที่เลี้ยงปลาหมออยู่ที่ตำบลปากพระ อำเภอเมืองสุโขทัย จังหวัดสุโขทัย ซึ่งเขามองเห็นถึงในเรื่องราคาของปลาหมอว่าน่าสนใจ เมื่อเปรียบเทียบกับการเลี้ยงปลาชนิดอื่น จึงได้นำมาทดลองเลี้ยงจนประสบผลสำเร็จเป็นงานที่สร้างเงินให้กับเขาได้เป็นอย่างดี คุณธนวัตน์ เล่าให้ฟังว่า เลี้ยงปลาเพื่อเป็นอาชีพเสริมหลังว่างจากทำงานประจำ เพราะมองว่าถ้างานด้านนี้ดีก็จะหันมาทำเป็นอาชีพหลักในอนาคต ซึ่งก่อนที่จะลงมือเลี้ยงจึงได้ศึกษาและทดลองเลี้ยงมาตั้งแต่ปี 2557 โดยเปรียบเทียบระหว่างการเลี้ยงปลานิลกับปลาหมอ ว่าปลาชนิดไหนเลี้ยงแล้วจะให้ผลตอบแทนดีกว่ากัน “ช่วงนั้นทดลองเอาปลาหมอกับปลานิล มาทดลองเลี้ยงในกระชังก่อน ปรากฏว่าปลาหมอมันไม่โต แต่ปลานิลโตดีกว่า ซึ่งช่วงนั้นก็ทำกระชังเลี้ยงในบ่อดิน พอทดลองไปเรื่อยๆ ก็เริ่มเห็นความแตกต่างของปลา 2 ชนิดนี้ เห็นว่าปลาหมอเลี้ยงได้ดีในบ่อดิน ก็เลยตัดสินใจเลี้ยงปลาหมอแทน เพราะเรื่องของราคาก็ได้ผลตอบแทนที่ดีกว่ามาก ก็เลยตกลงปลงใจตั้งแต่นั้นมา” คุณธนวัตน์ เล่าถึงที่มา คุณธนวัตน์ บอกว่า เมื่อเลี้ยงปลาหมอมาหลายรุ่นจนจับขายได้เรื่อยๆ ก็รู้สึกว่าปลาชนิดนี้ให้ผลตอบ
คณะกรรมการกลุ่มเกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจังหวัดเชียงใหม่-ลำพูน นำโดย คุณสุเทพ ปั๋นธิวงค์ ประธานกลุ่ม จัดให้มีการแข่งขันตกปลาหมอไทย ภาษาทางล้านนาเรียกว่า ปลาสะเด็ด โดยใช้เบ็ดไม้ไผ่ เพื่อเป็นการอนุรักษ์ประเพณีการตกปลา เป็นการส่งเสริมการเลี้ยงปลาหมอไทยให้ขยายวงกว้างขวางมากยิ่งขึ้น เป็นศูนย์เรียนรู้ศึกษาดูงานการเลี้ยงปลาหมอไทยที่ถูกต้องตามหลักวิชาการของกรมประมง อีกทั้งเป็นการส่งเสริมการท่องเที่ยวเกษตรอินทรีย์ การเลี้ยงสัตว์น้ำ และการแปรรูปสัตว์น้ำ โดยการสนับสนุนถ้วยรางวัลจาก ดร. ประเทือง นรินทรางกูล ณ อยุธยา หัวหน้าสำนักงานกองทุนฟื้นฟูและพัฒนาเกษตรกร สาขาจังหวัดเชียงใหม่ คุณสมหมาย คำมาสาร ประธานสภาเกษตรจังหวัดเชียงใหม่ คุณบรรจง จำนงศิตธรรม ประมงจังหวัดเชียงใหม่ คุณพงษ์ศักดิ์ ศิริ นายกเทศมนตรีเทศบาลเจดีย์แม่ครัว คุณสุเทพ ปั๋นธิวงค์ เล่าว่า ปลาหมอไทย เป็นปลาที่ได้รับความนิยมบริโภคกันมานานแล้ว ทั้งปิ้ง ย่าง ฉู่ฉี่ เป็นปลาที่มีความอดทนอย่างสุดยอดกว่าปลาอื่นๆ ทั้งสภาพอากาศร้อนเย็น ดินปกติ ดินเหนียว ดินกรดด่าง อยู่ในน้ำที่มีปริมาณน้อยได้นานกว่าปลาอื่นๆ เพราะมีอวัยวะพิเศษช่วยในการหายใจ ปลาหมอ
คุณสัญชัย เพชรคง อยู่บ้านเลขที่ 220 หมู่ที่ 5 ตำบลควนศรี อำเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี ได้นำปลาหมอมาเลี้ยงภายในสวนยางพารา โดยใช้วิธีการเลี้ยงให้อยู่ภายในบ่อผ้าใบ ทำให้ไม่ต้องขุดบ่อ สามารถจัดการในเรื่องของน้ำและระบบต่างๆ ได้เป็นอย่างดี ปลาหมอโตดี มีคุณภาพ เป็นที่ต้องการของตลาด มีพ่อค้าแม่ค้าจากหลายๆ จังหวัดเข้ามาติดต่อซื้ออยู่เป็นระยะเลยทีเดียว คุณสัญชัย เพชรคง จากพ่อค้าอุปกรณ์มือถือ ผันชีวิตมาทำเกษตร คุณสัญชัย เล่าให้ฟังว่า ในสมัยก่อนได้มีร้านจำหน่ายอุปกรณ์มือถือ ต่อมาได้ปรับเปลี่ยนมาดูแลสวนยางในที่ดินของตนเอง เมื่อราคายางพาราตกต่ำลงเมื่อไม่กี่ปีที่ผ่านมา จึงทำให้ต้องมองหาอาชีพเสริมอย่างอื่นเพื่อเพิ่มรายได้ จึงมองว่าในที่ดินของเขาเองมีแหล่งน้ำที่ค่อนข้างสมบูรณ์ ทำให้มีความคิดที่อยากจะเลี้ยงปลาภายในสวนยางพารา โดยใช้วิธีการเลี้ยงภายในบ่อผ้าใบหรือบ่อพลาสติกแทน เพื่อให้ง่ายต่อการจัดการและทำงานเพียงคนเดียวได้ อาหารที่ใช้เลี้ยง “ผมเป็นคนที่ชอบทานปลาหมอ พอเราคิดว่าจะหาอาชีพเสริมเพื่อสร้างรายได้ จึงได้นำปลาหมอพันธุ์ชุมพรเข้ามาทดลองเลี้ยง โดยเราจะไม่เน้นเลี้ยงในบ่อดินเหมือนทั่วไป เพราะการท
ด่วน !! ประมง ขึ้นบัญชีดำ ห้ามนำเข้า ส่งออก นำผ่าน จับหมอสีคางดำ หมอมายัน หมอบัตเตอร์ หรือเพาะเลี้ยง เตือนทำผิดระวังโทษหนัก ปรับ 1 ล้านบาท จำคุก 1 ปี นายอดิศร พร้อมเทพ อธิบดีกรมประมง กล่าวว่า จากปัญหาที่มีการพบการระบาดของปลาหมอสีคางดำ ปลาหมอมายัน และปลาหมอบัตเตอร์ สร้างความเดือดร้อนให้กับเกษตรกรบางราย เนื่องจากมีรายงานพบว่า มีการหลุดรอดเข้าบ่อเลี้ยงของเกษตรกรในเขตพื้นที่จังหวัดสมุทรสงคราม สมุทรปราการ เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร และกาญจนบุรี ดังนั้น เพื่อเป็นการป้องกันไม่ให้ปลาดังกล่าวมีโอกาสแพร่ขยายพันธุ์อันจะส่งผลต่อเกษตรกร สัตว์น้ำพื้นถิ่น ตลอดจนระบบนิเวศในแหล่งน้ำธรรมชาติ ปัจจุบันไทยประสบปัญหาการรุกรานของสัตว์น้ำต่างถิ่นหรือเอเลียนสปีชีส์ ที่มีการนำเข้ามาจากถิ่นอื่นโดยไม่ได้มีถิ่นกำเนิดในบ้านเรา บางชนิดสามารถปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมของประเทศไทย ทำให้เจริญเติบโตและแพร่พันธุ์ได้ดี ถือเป็นการทำลายระบบนิเวศดั้งเดิมของไทย และก่อให้เกิดความสูญเสียทางสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ และสุขอนามัย กรมประมง ได้อาศัยอำนาจตาม มาตรา 65 แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. 2558 และที่แก้ไขเพิ่มเติมจึงได้มีการออก