วว.
ดร. เรวดี อนุวัฒนา นักวิจัยอาวุโส ศูนย์เชี่ยวชาญนวัตกรรมพลังงานสะอาดและสิ่งแวดล้อม (ศนพ.) พร้อมคณะวิจัย ร่วมให้การต้อนรับและบรรยายให้ความรู้แก่คณะศึกษาดูงานจาก เพื่อศึกษาดูงานเทคโนโลยีการจัดการขยะชุมชน ระบบคัดแยกขยะรีไซเคิล การแปรรูปขยะพลาสติก และการสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่ของเหลือทิ้ง พร้อมหารือแนวทางการขยายผลรูปแบบการจัดการขยะไปยังพื้นที่หัวหิน เมื่อเร็วๆ นี้ สำหรับแฟนๆ นิตยสารเทคโนโลยีชาวบ้าน หากต้องการนิตยสารเทคโนโลยีชาวบ้านรายปักษ์ ส่งตรงถึงบ้าน รวดเร็วทันใจอ่านได้ในทุกๆ 15 วัน สามารถสมัครสมาชิกได้ที่ คลิกลิ้ง https://shorturl.asia/0zJwQ 📲- Line: @matichonbook หรือ สำนักพิมพ์มติชน เลขที่ 12 ถนนเทศบาลนฤมาล หมู่บ้านประชานิเวศน์ 1 แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 ติดต่อฝ่ายขาย 02-589-0020 ต่อ 3354
ดร. ตันติมา กำลัง นักวิจัยอาวุโส ศูนย์เชี่ยวชาญนวัตกรรมเกษตรสร้างสรรค์ ในฐานะผู้แทนสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) นำงานบริการชีวภัณฑ์แบบครบวงจร ที่สามารถรองรับอุตสาหกรรมการเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ ร่วมจัดแสดงนิทรรศการในงานแถลงข่าวการจัดงานมหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2565 (Thailand Research Expo 2022) ซึ่งสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ร่วมกับหน่วยงานเครือข่ายในระบบวิจัยทั่วประเทศกำหนดจะจัดขึ้นระหว่างวันที่ 1-5 สิงหาคม 2565 ณ โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์และบางกอกคอนเวนชั่นเซ็นเตอร์ เซ็นทรัลเวิลด์ เพื่อเป็นเวทีระดับชาติในการนำเสนอความก้าวหน้าผลงานวิจัยและนวัตกรรมที่มีศักยภาพพร้อมใช้ประโยชน์และเผยแพร่องค์ความรู้ กระจายโอกาสการเข้าถึงฐานข้อมูลความรู้เพื่อใช้ประโยชน์ในการพัฒนาประเทศ ทั้งนี้ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) ร่วมสนับสนุนนโยบายรัฐบาลในการมุ่งเน้นวิจัยและพัฒนาด้านเกษตรปลอดภัย เกษตรอินทรีย์ เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้กับทุกภาคส่วนของประเทศ ดำเนินงานโดย ICPIM 2 หรือศูนย์นวัตกรรมผลิตหัวเชื้อจุลินทร
ศ.ดร.นพ. สิริฤกษ์ ทรงศิวิไล ปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เป็นประธานเปิดการประชุมเชิงปฏิบัติการ International Workshop on Development of Ornamental Plant and Flower Clusters for Sustainable Careers and Competitiveness of SMEs in APEC ซึ่ง วว. เป็นเจ้าภาพ ศ. (วิจัย) ดร.ชุติมา เอี่ยมโชติชวลิต ผู้ว่าการ วว. กล่าวว่า งานประชุมเชิงปฏิบัติการดังกล่าวมีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอตัวอย่างความสำเร็จจากโครงการพัฒนาผู้ประกอบการไม้ดอกไม้ประดับของประเทศไทย ซึ่ง วว. ได้นำองค์ความรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรม เข้าส่งเสริมความเข้มแข็งให้ผู้ประกอบการไม้ดอกไม้ประดับ ทั้งต้นน้ำ กลางน้ำ และปลายน้ำ ตอบโจทย์การนำแนวคิด Bio-Circular-Green (BCG) สู่การปฏิบัติเพื่อความยั่งยืนทางเศรษฐกิจของประเทศ นอกจากนั้น ยังเป็นเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เทรนด์นวัตกรรมการพัฒนาสายพันธุ์ การเพาะปลูก การค้าขายไม้ดอกไม้ประดับ และการเพิ่มมูลค่าสินค้า โดยมีผู้ประกอบการจากประเทศเนเธอร์แลนด์ร่วมถ่ายทอดความรู้ ซึ่งเนเธอร์แลนด์ถือเป็นผู้นำตลาดธุรกิจไม้ดอกไม้ประดับของโลก นอกจากนี้ ยังเป็นเวทีการเรียนรู้โอกาสทางธุรกิจ ช่อ
ศ.(วิจัย) ดร.ชุติมา เอี่ยมโชติชวลิต ผู้ว่าการสถาบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) พร้อมด้วย นายสมพร มั่งมี กรรมการสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (กวท.) และ ดร. อาภากร สุปัญญา รองผู้ว่าการยุทธศาสตร์และจัดการนวัตกรรม วว. ร่วมฟังสวดพระอภิธรรมของ นายบุญเจือ รัตนสมบัติ บิดาของ ดร. บูรณิน รัตนสมบัติ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่นวัตกรรมและธุรกิจใหม่ บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) ประธานกรรมการ บริษัท อินโนบิก (เอเซีย) จำกัด เมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม 2565 ณ วัดชลประทานรังสฤษดิ์ พระอารามหลวง จังหวัดนนทบุรี สำหรับแฟนๆ นิตยสารเทคโนโลยีชาวบ้าน หากต้องการนิตยสารเทคโนโลยีชาวบ้านรายปักษ์ ส่งตรงถึงบ้าน รวดเร็วทันใจอ่านได้ในทุกๆ 15 วัน สามารถสมัครสมาชิกได้ที่ คลิกลิ้ง https://shorturl.asia/0zJwQ 📲- Line: @matichonbook หรือ สำนักพิมพ์มติชน เลขที่ 12 ถนนเทศบาลนฤมาล หมู่บ้านประชานิเวศน์ 1 แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 ติดต่อฝ่ายขาย 02-589-0020 ต่อ 3354
ดร.อาณัติ หาทรัพย์ ผู้อำนวยการศูนย์ทดสอบมาตรฐานระบบขนส่งทางราง (ศทร.) สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) พร้อมคณะนักวิชาการ ศทร. ได้เดินทางไปจัดโปรแกรมอบรมด้านมาตรฐานการทดสอบและการวิจัยพัฒนาระบบรางให้แก่หน่วยงานสถาบันวิจัยการก่อสร้างแห่งชาติมาเลเซีย – Construction Research Institute of Malaysia (CREAM) เมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม 2565 ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย โดยการจัดโปรแกรมอบรมในครั้งนี้ ศทร. วว. ได้ถ่ายทอดเทคโนโลยีในหัวข้อ ด้านมาตรฐานและการทดสอบชิ้นส่วนงานทางรถไฟ เช่น หมอนคอนกรีตอัดแรง เครื่องยึดเหนี่ยวราง ฯลฯ ซึ่งจัดขึ้นภายใต้ความร่วมมือระหว่าง วว. และ CREAM ซึ่ง CREAM ต้องการหน่วยงานเชี่ยวชาญจากต่างประเทศให้การอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพของบุคลากรภายในสังกัดและขยายงานทดสอบให้มากขึ้น รวมทั้งปฏิบัติงานทดสอบให้เป็นไปตามมาตรฐานห้องปฏิบัติการสากล เช่น ISO 17025 เป็นต้น โปรแกรมการอบรมดังกล่าว ประกอบด้วยภาคบรรยายและภาคปฏิบัติการในห้องปฏิบัติการทดสอบงานโครงสร้างของ CREAM โดย ดร.อาณัติ บรรยายให้ความรู้เกี่ยว
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) โดย ศูนย์เชี่ยวชาญนวัตกรรมวัสดุ ภายใต้การดำเนินงาน โครงการเสริมสร้างเศรษฐกิจฐานรากให้กับชุมชนกลุ่มไม้ดอกไม้ประดับด้วยนวัตกรรมเกษตร ด้วยแนวทางมาลัยวิทยสถาน อว. ซึ่งได้รับการสนับสนุนทุนวิจัยจาก สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) จัดการอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร “การพัฒนากระถางตุ๊กตาดินเผา” ให้แก่กลุ่มแปลงใหญ่ไม้ดอกไม้ประดับบ้านอุมลัว อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย เมื่อวันที่ 23-24 มิถุนายน 2565 เพื่อเพิ่มมูลค่าไม้ดอกไม้ประดับ โดยการจำหน่ายต้นไม้พร้อมกระถางที่เป็นอัตลักษณ์ของด่านซ้าย ซึ่งเป็นการเพิ่มมูลค่าวัสดุท้องถิ่น สร้างรายได้เสริม สร้างอัตลักษณ์ของกระถางดินเผาผีตาโขนอย่างเป็นรูปธรรม กระถางตุ๊กกาดินเผาผีตาโขน ที่ วว. จัดอบรมดังกล่าว มีจุดเด่นของเทคโนโลยี คือการนำดินพื้นถิ่นมาปรับปรุงสูตร เพื่อให้เหมาะสมต่อการขึ้นรูป โดยการปั้นอิสระและการเผาที่ไม่ให้เกิดรอยแตก เน้นการใช้เทคนิคขึ้นรูปเป็นแผ่นดินบางๆ หรือแผ่นสแล็บ (slab) ซึ่งเป็นเทคนิคที่ง่าย เหมาะสำหรับผู้ไม่มีประสบการณ์ในการปั้น แต่สาม
ศ. (วิจัย) ดร.ชุติมา เอี่ยมโชติชวลิต ผู้ว่าการสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) กล่าวว่า ในฐานะที่ วว. เป็นหน่วยงานวิจัยระดับชาติ นอกจากบทบาทในงานด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม แล้ว วว. ยังมีบทบาทในงานวิศวกรรมของประเทศ โดยเป็นองค์กรแม่ข่ายให้กับสภาวิศวกร รับทุนจัดทำร่างมาตรฐานการปฏิบัติวิชาชีพทางวิศวกรรม และเปิดฝึกอบรมด้านวิศวกรรมให้แก่บุคคลภายนอก โดยสามารถให้หน่วยความรู้การพัฒนาวิชาชีพวิศวกรรมต่อเนื่อง (PDU) แก่ผู้เข้าอบรมที่เป็นวิศวกร สามารถนำไปใช้ประกอบผลงานในการเลื่อนระดับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม นอกจากนี้ วว. ยังเป็นหน่วยงานรัฐหน่วยงานแรกของประเทศไทยที่ได้รับใบอนุญาตนิติบุคคลตามมาตรา 11 ผู้ให้บริการทดสอบเครื่องจักร ปั้นจั่น และหม้อน้ำ ตามกฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดำเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักร ปั้นจั่น และหม้อน้ำ พ.ศ. 2564 เรื่อง การทดสอบ ตามข้อ 121 งานบริการทดสอบ เครื่องจักร ปั้นจั่น หม้อน้ำ ที่ วว. ให้บริการทดสอบตามมาตร
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) โดย ศูนย์การบรรจุหีบห่อไทย จัดการสัมมนาออนไลน์หัวข้อเรื่อง “เจาะลึก…บรรจุภัณฑ์เครื่องสำอาง : Personal care and cosmetic product” ในวันที่ 28 มิถุนายน 2565 เวลา 08.30-16.00 น. ผ่านโปรแกรม ZOOM เพื่อส่งเสริม สนับสนุนผู้ประกอบการไทยให้แข็งแกร่งด้วยองค์ความรู้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม เนื่องจากการเลือกบรรจุภัณฑ์เป็นสิ่งสำคัญ ต้องเลือกให้เหมาะสมกับประเภทของเครื่องสำอางและคำนึงถึงประเภทของวัสดุที่ใช้ รวมถึงการออกแบบอย่างไรให้จูงใจผู้บริโภคและเกาะกระแสแนวโน้มยุค New normal เปิดรับสมัครตั้งแต่วันนี้ ถึงวันที่ 24 มิถุนายน 2565 (รับจำนวนจำกัด 40 ท่าน) เนื้อหาการสัมมนามีประโยชน์ต่อการประกอบธุรกิจ ดังนี้ 1) บรรจุภัณฑ์สำหรับผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง 2) การออกแบบบรรจุภัณฑ์เครื่องสำอางเพื่อเพิ่มมูลค่าและสร้างความแตกต่าง และ 3) โอกาสการพิมพ์ดิจิทัลบรรจุภัณฑ์สำหรับเครื่องสำอางเพื่อความสำเร็จของธุรกิจ ผู้สนใจสามารถสมัครหรือสอบถามรายละเอียดได้ที่ ศูนย์การบรรจุหีบห่อไทย วว. โทร. 02-579-
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดย สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) ร่วมเสริมแกร่งผู้ประกอบการด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ผ่านการจัดแสดงนิทรรศการผลงานวิจัยพัฒนา บริการอุตสาหกรรม ครบวงจรและการสัมมนา/กิจกรรม Workshop ภายใต้ธีม “TISTR BCG” ในงานโปรแพค เอเชีย 2022 (ProPak Asia 2022) งานแสดงสินค้าและนวัตกรรมในกระบวนการผลิต แปรรูป และบรรจุภัณฑ์ ครั้งที่ 29 ระหว่างวันที่ 15-18 มิถุนายน 2565 ณ ศูนย์นิทรรศการและการ ประชุมไบเทค บางนา ดร.อรรชกา สีบุญเรือง ผู้แทนรองนายกรัฐมนตรีและประธานกรรมการ สำนักงานส่งเสริมการจัดการประชุมและนิทรรศการ นายมนู เลี่ยวไพโรจน์ ประธาน อินฟอร์ม่า มาร์เก็ตส์ ประเทศไทย ศ. (วิจัย) ดร.ชุติมา เอี่ยมโชติชวลิต ผู้ว่าการ วว. ร่วมเปิดนิทรรศการ “TISTR BCG” การจัดแสดงนิทรรศการผลงานวิจัยพัฒนา บริการอุตสาหกรรม ครบวงจร ของ วว. ตลอด Value Chain การผลิตสินค้า ในงานโปรแพค เอเชีย 2022 (ProPak Asia 2022) เพื่อร่วมขับเคลื่อน สร้างโอกาสทางธุรกิจ เสริมศักยภาพผู้ประกอบการ ด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี นวัตกรรม วว. พร้อมให้บริการด้านวิท
ศ. (วิจัย) ดร.ชุติมา เอี่ยมโชติชวลิต ผู้ว่าการสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) และ ผศ.ดร. ปรีชา ศรีเรืองฤทธิ์ รักษาราชการแทนอธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์ ร่วมแถลงข่าวเปิดตัวโครงการยกระดับเศรษฐกิจฐานรากฯ และลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือว่าด้วยการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากจังหวัดเพชรบูรณ์ ตามเป้าหมายการดำเนินงานในรูปแบบ Quadruple Helix ของ วว. ในการทำงานเชิงพื้นที่ร่วมกับหน่วยงานภาครัฐ สถาบันการศึกษาและหน่วยงานภาคเอกชนในพื้นที่ โดยมี ผศ.ดร.กาญจน์ คุ้มภัย คณบดีคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์ ดร. รจนา ตั้งกุลบริบูรณ์ ผอ.ศูนย์เชี่ยวชาญนวัตกรรมเกษตรสร้างสรรค์ วว. ร่วมเป็นสักขีพยาน โดยมีระยะเวลาดำเนินโครงการ 2 ปี โอกาสนี้ นายชัยสิทธิ์ สัมฤทธิ์ผล นายอำเภอเมืองเพชรบูรณ์ ศ.ดร. เภสัชกรหญิงมาลิน อังสุรังสี กรรมการ บริษัท S & J International Enterprises Public Company Limited ผู้ว่าการ วว. กล่าวว่า หนึ่งในยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนโยบายของรัฐบาลที่ส