แหนแดง
แหนแดง เป็นพืชตระกูลเฟิร์นชนิดลอยน้ำ เจริญเติบโตลอยอยู่บนผิวน้ำในที่ที่มีน้ำขังในเขตร้อนและเขตอบอุ่น แหนแดงที่พบอยู่ทั่วโลกมีอยู่ด้วยกัน 7 ชนิด ในประเทศไทยมีอยู่เพียงชนิดเดียว คือ อะซอลล่า พินนาต้า (Azolla pinnata) ต้นแหนแดง ประกอบด้วยส่วนต่างๆ คือ ลำต้น ราก และใบ แหนแดงมีกิ่งแยกจากลำต้น ใบของแหนแดงเกิดตามกิ่งเรียงสลับกันไป ใบแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือใบบนและใบล่าง มีขนาดใกล้เคียงกัน ใบล่างค่อนข้างโปร่งใส มีคลอโรฟิลล์น้อยมาก ใบบนเป็นสีเขียวมีคลอโรฟิลล์เป็นองค์ประกอบ ดร. ศิริลักษณ์ แก้วสุรลิขิต นักวิชาการเกษตรชำนาญการพิเศษ กลุ่มงานวิจัยจุลินทรีย์ดิน กลุ่มวิจัยปฐพีวิทยา กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร กรมวิชาการเกษตร เล่าว่า แหนแดงที่ขึ้นอยู่ตามแหล่งน้ำธรรมชาติในบ้านเรา เป็นแหนแดงสายพันธุ์ อะซอลล่า พินนาต้า (Azolla pinnata) มีขนาดเล็กกว่าแหนแดงสายพันธุ์ที่กรมวิชาการเกษตรพัฒนาขึ้นมาเพื่อให้เกษตรกรนำไปใช้ประโยชน์ในปัจจุบัน ประมาณ 10 เท่า ทำให้ขยายพันธุ์ได้ช้ากว่า แหนแดง มีประวัติการใช้เป็นปุ๋ยพืชสดในนาข้าว ในประเทศสังคมนิยมเวียดนาม และสาธารณรัฐประชาชนจีนมานานหลายศตวรรษแล้ว “กรมวิชาก
แหนแดง (Azolla) จัดเป็นพืชน้ำขนาดเล็ก อยู่ในตระกูลเฟิร์นชนิดลอย พบได้ทั่วไปตามคู คลอง หรือแหล่งน้ำขังตามธรรมชาติ ต้นแหนแดงประกอบด้วยส่วนต่างๆ คือ ลำต้น ราก และใบ โดยที่แหนแดงจะมีกิ่งแยกจากลำต้น และใบของแหนแดงจะเกิดตามกิ่งเรียงสลับกันไป โดยที่ใบแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ ใบบนและใบล่าง ในส่วนของใบบน ซึ่งมีคลอโรฟิลล์เป็นองค์ประกอบมากกว่าใบล่าง จึงมีสีเขียวเข้มกว่า ที่กาบใบบนด้านหลังมีโพรงใบและมีสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน (Blue green algae) อาศัยอยู่แบบพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน แบบเดียวกับไรโซเบียมในรากพืชตระกูลถั่ว ซึ่งสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงินนี้สามารถตรึงก๊าซไนโตรเจนจากอากาศ แล้วเปลี่ยนเป็นสารประกอบในรูปของแอมโมเนียมให้แหนแดง สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ในอัตรา 200-600 กรัมต่อไร่ต่อวัน แหนแดงจึงเปรียบเสมือนโรงงานผลิตปุ๋ยไนโตรเจนทางชีวภาพโดยผ่านกระบวนการตรึงไนโตรเจนจากอากาศของสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงินที่อาศัยอยู่ในโพรงใบของแหนแดง ประโยชน์ของแหนแดง สามารถทดแทนหรือลดการใช้ปุ๋ยไนโตรเจนลงได้ เพิ่มอินทรียวัตถุให้แก่ดิน ทำให้ดินมีความอุดมสมบูรณ์มากขึ้น ปรับปรุงโครงสร้างดินดีขึ้นในระยะยาว ใช้เป็นปุ๋ยอินทรีย
ว่าที่ร้อยโท บำรุง คำไว นายอำเภอเชียงม่วน เป็นประธานเปิดโครงการอำเภอยิ้มเคลื่อนที่ ณ วัดสระใต้ ตำบลสระ อำเภอเชียงม่วน จังหวัดพะเยา ในส่วนสำนักงานเกษตรอำเภอเชียงม่วน มี นายการุณย์ มะโนใจ เกษตรอำเภอ และ นายสุรชัย ณ มา นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรปฏิบัติการ นำแหนแดงไปสาธิตการขยายเลี้ยง เพื่อใช้ทดแทนปุ๋ยเคมี และชี้แจงข้อราชการที่เกี่ยวข้อง เช่น การช่วยเหลือเกษตรกรตามโครงการของทางรัฐบาล
เมื่อเร็วๆ นี้ นายการุณย์ มะโนใจ เกษตรอำเภอเชียงม่วน จังหวัดพะเยา ปล่อยแหนแดงลงในแปลงเพาะขยายของสำนักงาน เปรียบเทียบระหว่างพันธุ์อะซอลล่า ไมโครฟินล่า (Azolla microphlla) ซึ่งได้รับสนับสนุนจากกลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดพะเยา และพันธุ์อะซอลล่า ฟินนาต้า (Azolla pinnata) ซึ่งได้รับสนับสนุนจากศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าวพะเยา เพื่อสาธิตให้เกษตรกรในอำเภอได้ศึกษาและนำไปขยาย ใช้ทดแทนปุ๋ยเคมี ซึ่งมีราคาแพงอยู่ในขณะนี้ ทำให้พืชเจริญเติบโตได้ดีและลดต้นทุนการผลิต รวมทั้งปลอดภัยต่อตัวเกษตรกรและผู้บริโภค
ปัจจุบันการเลี้ยงสัตว์ของเกษตรกรไทยยังคงประสบปัญหาด้านราคาวัตถุดิบอาหารที่มีราคาสูง ส่งผลกระทบต่อเกษตรกรรายย่อย ดังนั้น กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จึงมุ่งส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกพืชอาหารสัตว์ อาทิ แหนแดง ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ หญ้าเนเปียร์ ถือเป็นพืชทางเลือกที่เป็นทางออกให้กับเกษตรกรในการลดต้นทุนการผลิต สำหรับแหนแดง เป็นพืชที่ใช้เวลาปลูกระยะสั้นเติบโตเร็ว 15-30 วัน สามารถขายได้ เป็นที่ต้องการของตลาด โปรตีนสูง และมีไนโตรเจนสูงถึง 5% ในขณะที่ปุ๋ยพืชสดตระกูลถั่วมีธาตุอาหารไนโตรเจน ประมาณ 2.5-3% ขณะที่ราคาอาหารสัตว์ท้องตลาด ราคา 12 บาท/กิโลกรัม แต่หากเป็นอาหารที่ผสมเองราคา 4 บาท/กิโลกรัม เป็นการลดต้นทุนการผลิตให้กับเกษตรกร แหนแดง เป็นเฟิร์นชนิดหนึ่งที่มีขนาดเล็ก พบอยู่ตามบริเวณน้ำนิ่ง เช่น บ่อ หรือคูน้ำ สำหรับแหนแดงพันธุ์กรมวิชาการเกษตรให้ผลผลิตสูงกว่าพันธุ์พื้นเมืองถึง 10 เท่า เมื่อเจริญเติบโตเต็มที่บนผิวน้ำในนาข้าว 1 ไร่ จะให้ผลผลิตสดถึง 3 ตัน (150 กิโลกรัมแห้ง) ซึ่งเป็นปริมาณไนโตเจนได้ประมาณ 6-7 กิโลกรัม ประโยชน์คือ ทดแทนหรือลดการใช้ปุ๋ยเคมีไนโตรเจน เพิ่มอินทรียวัตถุให้แก่ดิน ใช้เป็นปุ๋ยอินทรีย์สำ
แหนแดง เป็นพืชตระกูลเฟิร์นชนิดลอยน้ำ เจริญเติบโตลอยอยู่บนผิวน้ำในที่ที่มีน้ำขังในเขตร้อนและเขตอบอุ่น แหนแดงที่พบอยู่ทั่วโลกมีอยู่ด้วยกัน 7 ชนิด ในประเทศไทยมีอยู่เพียงชนิดเดียว คือ อะซอลล่า พินนาต้า (Azolla pinnata) ต้นแหนแดง ประกอบด้วยส่วนต่างๆ คือ ลำต้น ราก และใบ แหนแดงมีกิ่งแยกจากลำต้น ใบของแหนแดงเกิดตามกิ่งเรียงสลับกันไป ใบแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือใบบนและใบล่าง มีขนาดใกล้เคียงกัน ใบล่างค่อนข้างโปร่งใส มีคลอโรฟิลล์น้อยมาก ใบบนเป็นสีเขียวมีคลอโรฟิลล์เป็นองค์ประกอบ ดร. ศิริลักษณ์ แก้วสุรลิขิต นักวิชาการเกษตรชำนาญการพิเศษ กลุ่มงานวิจัยจุลินทรีย์ดิน กลุ่มวิจัยปฐพีวิทยา กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร กรมวิชาการเกษตร เล่าว่า แหนแดงที่ขึ้นอยู่ตามแหล่งน้ำธรรมชาติในบ้านเรา เป็นแหนแดงสายพันธุ์ อะซอลล่า พินนาต้า (Azolla pinnata) มีขนาดเล็กกว่าแหนแดงสายพันธุ์ที่กรมวิชาการเกษตรพัฒนาขึ้นมาเพื่อให้เกษตรกรนำไปใช้ประโยชน์ในปัจจุบัน ประมาณ 10 เท่า ทำให้ขยายพันธุ์ได้ช้ากว่า แหนแดง มีประวัติการใช้เป็นปุ๋ยพืชสดในนาข้าว ในประเทศสังคมนิยมเวียดนาม และสาธารณรัฐประชาชนจีนมานานหลายศตวรรษแล้ว “กรมวิชาก
คุณอำพล จินดาวงค์ ประมงจังหวัดอุดรธานี ให้ข้อมูลว่า ภายในจังหวัดอุดรธานี มีการเลี้ยงสัตว์น้ำที่เป็นแปลงใหญ่อยู่ 2 ชนิด คือ ปลาดุกและปลาตะเพียน พร้อมทั้งมีแหล่งเลี้ยงปลากระชังอยู่ภายในเขื่อน โดยเกษตรกรที่มีบ่อน้ำขึ้นทะเบียนกับสำนักงานประมง มีอยู่ประมาณ 20,000 ราย ซึ่งส่วนใหญ่มีการเลี้ยงปลาเพื่อเป็นการยังชีพ ซึ่งการเลี้ยงด้วยวิธีนี้การประหยัดต้นทุนจึงเป็นเรื่องที่สำคัญ เพราะเกษตรกรจะซื้ออาหารสำเร็จรูปมาเลี้ยงเพียงอย่างเดียวไม่ได้ จึงได้เห็นความสำคัญของการลดต้นทุนการผลิต ทำให้มีการส่งเสริมการเพาะเลี้ยงแหนแดงเข้ามาลดต้นทุนในการเลี้ยงปลาของเกษตรกร และผลผลิตที่เหลือเกษตรกรยังสามารถจำหน่ายให้เกิดรายได้อีกหนึ่งช่องทาง “แหนแดงถือว่าเป็นแหล่งอาหารที่ดีมากของปลากินพืช จึงทำให้สำนักงานประมงจังหวัดอุดรธานีเห็นความสำคัญในเรื่องนี้ จึงได้ส่งเสริมการเลี้ยงอย่างจริงจัง มีการบรรยายความรู้ การสาธิตการขยายพันธุ์แหนแดง เพื่อให้เกษตรกรเข้าถึงการเลี้ยงแหนแดงได้อย่างเต็มที่ โดยสายพันธุ์ที่เรานำมาส่งเสริมให้เกษตรกรนั้น เป็นแหนแดงสายพันธุ์ Azolla microphylla เป็นสายพันธุ์ที่กรมวิชาการเกษตรพัฒนาสายพันธุ์ขึ้นมา เ
แหนแดง เป็นพืชตระกูลเฟิร์นชนิดลอยน้ำ เจริญเติบโตลอยอยู่บนผิวน้ำในที่ที่มีน้ำขังในเขตร้อนและเขตอบอุ่น แหนแดงที่พบอยู่ทั่วโลกมีอยู่ด้วยกัน 7 ชนิด ในประเทศไทยมีอยู่เพียงชนิดเดียว คือ อะซอลล่า พินนาต้า (Azolla pinnata) ต้นแหนแดง ประกอบด้วยส่วนต่างๆ คือ ลำต้น ราก และใบ แหนแดงมีกิ่งแยกจากลำต้น ใบของแหนแดงเกิดตามกิ่งเรียงสลับกันไป ใบแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือใบบนและใบล่าง มีขนาดใกล้เคียงกัน ใบล่างค่อนข้างโปร่งใส มีคลอโรฟิลล์น้อยมาก ใบบนเป็นสีเขียวมีคลอโรฟิลล์เป็นองค์ประกอบ ดร. ศิริลักษณ์ แก้วสุรลิขิต นักวิชาการเกษตรชำนาญการพิเศษ กลุ่มงานวิจัยจุลินทรีย์ดิน กลุ่มวิจัยปฐพีวิทยา กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร กรมวิชาการเกษตร เล่าว่า แหนแดงที่ขึ้นอยู่ตามแหล่งน้ำธรรมชาติในบ้านเรา เป็นแหนแดงสายพันธุ์ อะซอลล่า พินนาต้า (Azolla pinnata) มีขนาดเล็กกว่าแหนแดงสายพันธุ์ที่กรมวิชาการเกษตรพัฒนาขึ้นมาเพื่อให้เกษตรกรนำไปใช้ประโยชน์ในปัจจุบัน ประมาณ 10 เท่า ทำให้ขยายพันธุ์ได้ช้ากว่า แหนแดง มีประวัติการใช้เป็นปุ๋ยพืชสดในนาข้าว ในประเทศสังคมนิยมเวียดนาม และสาธารณรัฐประชาชนจีนมานานหลายศตวรรษแล้ว “กรมวิชาการเกษ
แหนแดง เป็นพืชตระกูลเฟิร์นชนิดลอยน้ำ เจริญเติบโตลอยอยู่บนผิวน้ำในที่ที่มีน้ำขังในเขตร้อนและเขตอบอุ่น แหนแดงที่พบอยู่ทั่วโลกมีอยู่ด้วยกัน 7 ชนิด ในประเทศไทยมีอยู่เพียงชนิดเดียว คือ อะซอลล่า พินนาต้า (Azolla pinnata) ต้นแหนแดง ประกอบด้วยส่วนต่างๆ คือ ลำต้น ราก และใบ แหนแดงมีกิ่งแยกจากลำต้น ใบของแหนแดงเกิดตามกิ่งเรียงสลับกันไป ใบแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือใบบนและใบล่าง มีขนาดใกล้เคียงกัน ใบล่างค่อนข้างโปร่งใส มีคลอโรฟิลล์น้อยมาก ใบบนเป็นสีเขียวมีคลอโรฟิลล์เป็นองค์ประกอบ ดร. ศิริลักษณ์ แก้วสุรลิขิต นักวิชาการเกษตรชำนาญการพิเศษ กลุ่มงานวิจัยจุลินทรีย์ดิน กลุ่มวิจัยปฐพีวิทยา กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร กรมวิชาการเกษตร เล่าว่า แหนแดงที่ขึ้นอยู่ตามแหล่งน้ำธรรมชาติในบ้านเรา เป็นแหนแดงสายพันธุ์ อะซอลล่า พินนาต้า (Azolla pinnata) มีขนาดเล็กกว่าแหนแดงสายพันธุ์ที่กรมวิชาการเกษตรพัฒนาขึ้นมาเพื่อให้เกษตรกรนำไปใช้ประโยชน์ในปัจจุบัน ประมาณ 10 เท่า ทำให้ขยายพันธุ์ได้ช้ากว่า แหนแดง มีประวัติการใช้เป็นปุ๋ยพืชสดในนาข้าว ในประเทศสังคมนิยมเวียดนาม และสาธารณรัฐประชาชนจีนมานานหลายศตวรรษแล้ว “กรมวิชาการเกษ