พลูเป็นพืชที่ปลูกง่าย เก็บขายได้เร็ว ขายได้ราคา ส่งขายได้ทั้งในและต่างประเทศ แต่ปลูกยังไงให้ได้เงินล้าน?
“เทคนิคสำคัญของสวนผมเลยคือการนำเทคโนโลยีเข้ามาใช้ ปลูกพลูในโรงเรือนพลาสติก จะช่วยป้องกันโรคและแมลงได้มากถึง 90 เปอร์เซ็นต์ การปลูกพลูถ้าเอาโรคและแมลงอยู่ เรื่องอื่นก็ไม่ยาก”
สนใจสอบถามรายละเอียดการปลูกพลูเพิ่มเติมได้ที่ คุณเฉลิมชัย เนียมมณี เจ้าของสวนเอพันธุ์ไม้ จังหวัดนครปฐม โทร. 064-653-6659
MOST POPULAR
สะละพันธุ์สุมาลี มีลักษณะลำต้นคล้ายระกำ ทางใบยาวมีสีเขียวอมเหลือง ใบใหญ่กว้างและมีปลายใบสั้นกว่าพันธุ์เนินวง หนามของยอดอ่อนที่ยังไม่คลี่มีสีส้มอ่อน คานดอกยาว ช่อใหญ่ ติดผลง่าย มีรูปร่างป้อมสั้น สีเนื้อคล้ายสะละเนินวง มีเนื้อหนากว่าระกำ แต่บางกว่าพันธุ์เนินวง มีรสหวาน มีกลิ่นเฉพาะ เจริญเติบโตเร็ว และทนต่อสภาพแสงแดดจัดได้ดีกว่าพันธุ์เนินวง สะละเป็นพืชที่โตเร็วปลูก 3 ปี ก็ได้เก็บผลผลิตขาย และออกผลตลอดทั้งปี ที่สำคัญสะละสามารถปลูกร่วมกับพืชอื่นๆ ได้ อย่างเช่น หมาก ยางพารา ทุเรียน ก็สามารถปลูกได้เช่นกัน เพราะสะละต้องการแค่แสง 50 เปอร์เซ็นต์เท่านั้น สะละเป็นพืชที่ไม่มีรากแก้ว เมื่อลมพัดแรงๆ จะทำให้เอนล้มได้จึงจำเป็นต้องทำเสาให้ และเสายังให้ประโยชน์อีกอย่างหนึ่งคือ โยงคานลูก ถ้าไม่โยงเมื่อคานหักก็จะทำให้เสียหายได้ และยังสามารถใส่รหัสของต้นนั้นๆ ได้อีกด้วย ง่ายและสะดวกต่อการดูแล สะละที่ขายผลสดจะอร่อย หอม หวาน และสะละที่เก็บผลผลิตได้นั้น สามารถนำมาแปรรูปได้ ทั้งสะละลอยแก้ว น้ำสะละ สะละกวน เป็นการเพิ่มมูลค่าให้กับผลผลิตได้อีกด้วย คุณจตุพงศ์ สุมา หรือ คุณกิ๊ก อยู่บ้านเลขที่ 154 หมู่บ้านป่าสงวน ตำ
บมจ.ไทยเซ็นทรัลเคมี เดินหน้าสานต่อโครงการเหลือ-ขอส่งมอบสิ่งของเครื่องใช้ สร้างโอกาสทางการศึกษาให้เด็กและเยาวชนด้อยโอกาส นายสึโยชิ โอซากิ (ที่ 2 จากขวา) เจ้าหน้าที่บริหารและผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ และ นางพัทธ์ธีรา เรืองเนาวโรจน์ (ที่ 2 จากซ้าย) ผู้จัดการทั่วไปสายงานกิจการองค์กร บริษัท ไทยเซ็นทรัลเคมี จำกัด (มหาชน) ผู้ผลิตและจำหน่ายปุ๋ยเคมีรายใหญ่ในประเทศไทย ภายใต้ตราสินค้าหัววัว-คันไถ ร่วมส่งมอบสิ่งของเครื่องใช้จำเป็น อาทิ เสื้อผ้า หนังสือ ตุ๊กตา และอุปกรณ์เครื่องเขียน ให้แก่มูลนิธิบ้านนกขมิ้น ภายใต้โครงการ “เหลือขอ” โดยสิ่งของที่ได้รับบริจาคจะถูกนำไปจำหน่ายเพื่อนำรายได้ไปใช้เป็นทุนการศึกษาสำหรับเด็กและเยาวชนในความดูแลของมูลนิธิฯ ซึ่งสะท้อนถึงความมุ่งมั่นของบริษัท ในการส่งเสริมโอกาสทางการศึกษา และสนับสนุนการพัฒนาสังคมอย่างยั่งยืน อันเป็นส่วนหนึ่งของการดำเนินธุรกิจบนพื้นฐานความรับผิดชอบต่อสังคมอย่างต่อเนื่อง Thai Central Chemical PCL Continues the “Luea-Kor” Project to Support Educational Opportunities for Underprivileged Children and Youth. Mr. Tsuyoshi Ozaki (2nd from right), Execu
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลับเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน โครงการเรน นำโดยคุณธีรพงษ์ ลัพธวรรณ์ ผู้จัดการการสื่อสารโครงการเรน ได้จัดประชุมแลกเปลี่ยนองค์ความรู้เกี่ยวกับมันสำปะหลัง โดยได้รับเกียรติจาก ผศ.ดร.วรรณสิริ วรรณรัตน์ ภาควิชา พืชไร่นา ม.เกษตรศาสตร์, รศ.ดร.ภัศจี คงศิล ภาควิชา พืชไร่นา ม.เกษตรศาสตร์, รศ.ดร.วันวิสา ศิริวรรณ ภาควิชาโรคพืช ม.เกษตรศาสตร์ และ รศ.ดร.เฉลิมพล ภูมิไชย์ ภาควิชาพืชไรนา ม.เกษตรศาสตร์ มารวมให้ข้อมูล ทั้งนี้ยังมีสื่อมวลชนสายเกษตรเข้าร่วมรับฟังในครั้งนี้ด้วย สถานการณ์ผลผลิตมันสำปะหลังของไทยในปัจจุบัน ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 (เริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนตุลาคม 2567 – กันยายน 2568) คาดว่ามีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.629 ล้านไร่ ผลผลิต 27.196 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,152 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567 ที่มีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.421 ล้านไร่ ผลผลิต 26.783 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,181 กิโลกรัม พบว่าพื้นที่เก็บเกี่ยว และผลผลิตเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.47 และร้อยละ 1.54 ตามลำดับ แต่ผลผลิตต่อไร่ลดลงร้อยละ 0.91 โดยเดือนกุมพาพันธ์ 2568 คาดว่าจะมีผลผลิตออกสู่ตลาด 5.77 ล้านตัน (ร้อยละ 21.21 ของผ
ต้นหม่อน หรือที่เรียกในภาษาอังกฤษว่า “มัลเบอร์รี่” (mulberry) เป็นไม้ยืนต้น ที่อยู่ในวงศ์เดียวกับต้นปอสา ขนุน และโพธิ์ ฯลฯ มีคุณค่าทางแร่ธาตุและวิตามินมากมายที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกาย ทุกวันนี้ใบและผลหม่อนจึงถูกนำมาแปรรูปเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มในลักษณะ “อาหาร และเครื่องดื่ม” หลากหลายรูปแบบ เช่น ชาวอีสานยังนิยมนำยอดหม่อนและใบหม่อนมาปรุงใส่อาหารเมนูพื้นบ้าน เช่น ต้มยำไก่ ฯลฯ นอกจากนี้ ใบหม่อน ยังสามารถแปรรูปเป็นชาชงดื่ม เพื่อลดความดันโลหิตสูง มีฤทธิ์ลดน้ำตาลในเลือด รู้ไหมว่า…เราสามารถมี “ผลหม่อนสด” ให้เก็บกินทุกวันได้ทั้งปี แค่ต้องใส่ใจดูแลต้นหม่อนนิดนึง และรู้จักเทคนิค “บังคับออกผลนอกฤดู” หมุนเวียนกันตลอดปี ทีนี้ก็จะมีผลหม่อนหวานๆ เปรี้ยวๆ ไว้ลิ้มรสกันทุกวัน ลองมาดูกันว่าต้องทำยังไงบ้าง การปลูกหม่อนให้มีผลสดรับประทานตลอดปี อยากมี “ผลหม่อนสด” ไว้กินทั้งปี ไม่ใช่เรื่องยาก แค่ต้องรู้จักวางแผนให้ดี และใส่ใจดูแลต้นหม่อนอย่างถูกวิธี วิธีนี้จะช่วยให้เรามีผลหม่อนทยอยสุกให้เก็บกินได้ทุกเดือน ไม่มีขาดช่วง แม้จะเจอสภาพอากาศไม่เป็นใจ เช่น อากาศร้อนจัดที่อาจทำให้ผลร่วงก่อนกำหนด ก็ยังมีต้นสำรองให้เก็บได