เห็ดฟาง
คุณวุฒิพงศ์ อยู่สุข หรือ ชายน้อย อยู่บ้านเลขที่ 790 หมู่ที่ 2 ตำบลเขาท่าพระ อำเภอเมืองชัยนาท จังหวัดชัยนาท อีกหนึ่งเกษตรกรรุ่นใหม่หันมาเพาะเห็ดฟางเป็นอาชีพเสริม หาเงินค่าขนมมาตั้งแต่สมัยเรียน ปวช.-ปวส. จนถึงปัจจุบันเรียนจบแล้วก็ยังไม่ทิ้งการเพาะเห็ด พร้อมทั้งทำควบคู่กับอาชีพค้าขายสร้างรายได้มาจุนเจือครอบครัวต่อเดือนไม่น้อย คุณชายน้อย เล่าถึงจุดเริ่มต้นการเพาะเห็ดฟางให้ฟังว่า ตนเองเริ่มเพาะเห็ดฟางมาตั้งแต่สมัยเรียน ปวช.-ปวส. เพื่อหารายได้ค่าขนมระหว่างเรียน ด้วยปัจจัยที่เห็ดฟางขายง่าย ราคาดี และสามารถหาวัตถุดิบในการเพาะได้ง่ายในท้องถิ่น จึงเป็นสาเหตุทำให้ตนเองยึดอาชีพการเพาะเห็ดฟางเป็นอาชีพเสริมมานานกว่า 7 ปี ควบคู่ไปกับอาชีพค้าขาย ทำได้สบายๆ “การเพาะเห็ดฟางในตะกร้านั้นค่อนข้างเป็นวิธีการที่เหมาะสำหรับทำเป็นอาชีพเสริมหรือเป็นเกษตรกรวันหยุดอยู่แล้ว ไม่ต้องใช้เงินลงทุนเยอะ ไม่ต้องใช้เวลาในการดูแลมากมาย ขอแค่เพียงมีเวลาช่วงเช้าและช่วงเย็น สัก 10-15 นาที ก็สามารถทำได้ ส่วนช่วงเวลาในการเพาะจนถึงเก็บดอกก็ใช้เวลาเพียง 10 วัน โดยที่ไม่ต้องรดน้ำใส่ปุ๋ย ก็สามารถสร้างรายได้หมุนเวียนมาใช้จ่ายในครอบค
นายรพีภัทร์ จันทรศรีวงศ์ อธิบดีกรมวิชาการเกษตร เปิดเผยว่า เห็ดฟาง เป็นเห็ดที่มีถิ่นกำเนิดในประเทศไทยได้รับความนิยมเพาะบริโภคอย่างแพร่หลาย มีกำลังการผลิตสูงถึง 55 เปอร์เซ็นต์ของผลผลิตเห็ดรวมที่ผลิตได้ในประเทศ โดยมีพื้นที่ภาคกลางเป็นแหล่งการผลิตหลักและมีตลาดกลางที่จำหน่ายผลผลิตเห็ดฟาง ได้แก่ ตลาดไทและตลาดสี่มุมเมือง ราคาจำหน่ายกิโลกรัมละ 100 – 150 บาท ขึ้นอยู่กับขนาดของดอกเห็ดฟางตามเกณฑ์มาตรฐานชั้นคุณภาพของเห็ดฟาง (มกษ. 1515-2558) อย่างไรก็ตาม ปัญหาสำคัญในการผลิตเห็ดฟาง คือ เชื้อพันธุ์เห็ดฟางที่มีจำหน่ายในท้องตลาดมักประสบปัญหาความอ่อนแอลง เนื่องจากความแปรปรวนทางพันธุกรรมจากและจากสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน ซึ่งเชื้อพันธุ์เห็ดฟางถือเป็นปัจจัยข้อแรกที่ส่งผลอย่างมากต่อผลผลิตเห็ดฟางของเกษตรกร ส่งผลให้ผลผลิตเห็ดฟางลดลงอย่างต่อเนื่อง ศูนย์รวบรวมเชื้อพันธุ์เห็ดแห่งประเทศไทย สำนักวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ กรมวิชาการเกษตร จึงได้ดำเนินการรวบรวม เก็บอนุรักษ์เชื้อพันธุ์เห็ดฟางจากพื้นที่ต่าง ๆ เพื่อดำเนินการเพาะทดสอบ คัดเลือกเห็ดฟางสายพันธุ์ใหม่ที่ให้ผลผลิตสูงและมีลักษณะที่ดีตามความต้องการขอ
นายรพีภัทร์ จันทรศรีวงศ์ อธิบดีกรมวิชาการเกษตร เปิดเผยว่า “เห็ดฟาง” ถือเป็นเห็ดยอดนิยมในประเทศไทย มีปริมาณการผลิตสูงคิดเป็น 75% ของผลผลิตเห็ดทั้งหมดในประเทศ มีอายุการเก็บรักษาสั้น โดยเฉพาะเห็ดฟางดอกบาน ซึ่งไม่นิยมบริโภค และเน่าเสียได้ง่าย ทำให้เกิดความสูญเสียของผลผลิตทางการเกษตร กองวิจัยและพัฒนาวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวและแปรรูปผลิตผลเกษตร (กวป.) กรมวิชาการเกษตร จึงมีแนวคิดเพิ่มมูลค่าเห็ดฟางโดยนำมาแปรรูปเพิ่มการใช้ประโยชน์ให้มีความหลากหลายมากขึ้น เนื่องจากเห็ดฟางมีโปรตีนสูง มีกรดอะมิโนที่จำเป็นต่อร่างกาย และมีความสำคัญต่อผิวสามารถเป็นแหล่งวัตถุดิบของนวัตกรรมในวงการเครื่องสำอางได้ด้วย นางสาวสุรีย์รัตน์ รักเหลือ นักวิทยาศาสตร์ชำนาญการ กลุ่มวิจัยและพัฒนาการแปรรูปผลิตผลเกษตร ทีมนักวิจัยกรมวิชาการเกษตร กล่าวว่า งานวิจัยการผลิตโปรตีนไฮโดรไลเซทจากเห็ดฟาง มีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มมูลค่าเห็ดฟาง โดยเฉพาะเห็ดฟางดอกบานที่ใกล้หมดอายุการวางจำหน่ายและราคาตกต่ำ ด้วยการผลิตเป็นโปรตีนไฮโดรไลเซท สำหรับเป็นวัตถุดิบในผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง โดยศึกษาการใช้เอนไซม์อัลคาเลส ในการย่อยเห็ดฟางที่ระยะเวลาการย่อย 2, 3
นายรพีภัทร์ จันทรศรีวงศ์ อธิบดีกรมวิชาการเกษตร เปิดเผยว่า “เห็ดฟาง” ถือเป็นเห็ดยอดนิยมในประเทศไทย มีปริมาณการผลิตสูงคิดเป็น 75% ของผลผลิตเห็ดทั้งหมดในประเทศ มีอายุการเก็บรักษาสั้น โดยเฉพาะเห็ดฟางดอกบาน ซึ่งไม่นิยมบริโภค และเน่าเสียได้ง่าย ทำให้เกิดความสูญเสียของผลผลิตทางการเกษตร กองวิจัยและพัฒนาวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวและแปรรูปผลิตผลเกษตร (กวป.) กรมวิชาการเกษตร จึงมีแนวคิดเพิ่มมูลค่าเห็ดฟางโดยนำมาแปรรูปเพิ่มการใช้ประโยชน์ให้มีความหลากหลายมากขึ้น เนื่องจากเห็ดฟางมีโปรตีนสูง และมีกรดอะมิโนที่จำเป็นต่อร่างกายและมีความสำคัญต่อผิวสามารถเป็นแหล่งวัตถุดิบของนวัตกรรมในวงการเครื่องสำอางได้ด้วย นางสาวสุรีย์รัตน์ รักเหลือ นักวิทยาศาสตร์ชำนาญการ กลุ่มวิจัยและพัฒนาการแปรรูปผลิตผลเกษตร ทีมนักวิจัยกรมวิชาการเกษตร กล่าวว่า งานวิจัยการผลิตโปรตีนไฮโดรไลเซทจากเห็ดฟาง มีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มมูลค่าเห็ดฟาง โดยเฉพาะเห็ดฟางดอกบานที่ใกล้หมดอายุการวางจำหน่าย และราคาตกต่ำ ด้วยการผลิตเป็นโปรตีนไฮโดรไลเซท สำหรับเป็นวัตถุดิบในผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง โดยศึกษาการใช้เอนไซม์อัลคาเลส ในการย่อยเห็ดฟางที่ระยะเวลาการย่อย 2
“เห็ด” เป็นผลผลิตทางการเกษตรที่เกษตรกรนิยมเพาะปลูกเพื่อเป็นอาชีพเสริมเนื่องจากใช้พื้นที่น้อย ดูแลค่อนข้างง่าย ราคาสูง อีกทั้งมีคุณค่าทางอาหารและโภชนาการสูง โดยมีปริมาณโปรตีนและเส้นใยสูง แต่มีไขมันต่ำ อย่างไรก็ตาม การเพาะเห็ดสามารถเลือกใช้วัสดุปลูกได้หลายชนิดซึ่งในพื้นที่ภาคใต้มีการปลูกปาล์มน้ำมันจำนวนมาก ดังนั้น การใช้ “ทะลายปาล์มน้ำมัน” จึงเป็นหนึ่งในวัตถุดิบที่น่าสนใจและสามารถนำมาใช้เพาะเห็ดได้ ซึ่งทะลายปาล์มเป็นวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรจากการสกัดน้ำมัน เกษตรกรสามารถหาได้จากโรงงานสกัดน้ำมันปาล์มที่มีมากหรือใช้ทะลายปาล์มเปล่าในสวนปาล์มน้ำมัน ทั้งนี้ การเลือกใช้ทะลายปาล์มน้ำมันมาเพาะเห็ด เหมาะสมกับการหารายได้จากของที่มีอยู่ในท้องถิ่นในยุคที่เกิดโรคระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 ให้เกิดรายได้แก่เกษตรกร ในสถานการณ์การระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 มีแรงงานในภาคอุตสาหกรรมจำนวนไม่น้อยได้ถูกเลิกจ้างงานและเดินทางกลับภูมิลำเนาเข้าสู่ภาคการเกษตร ได้มีความสนใจเพาะเห็ดฟางด้วยทะลายปาล์มน้ำมันซึ่งใช้ระยะเวลาในช่วงสั้นก็สามารถให้ผลตอบแทนที่คุ้มค่า คุณสุบิน เกตุแก้ว เกษตรกร หมู่ที่ 8 ตำบลนาวง อำเภอห้วยยอด จั
Young Smart Farmer เป็นคนหนุ่มสาวที่มีความรู้ มีความคิดก้าวไกล ทันสมัย และใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้ดี หากสนับสนุนให้คนเหล่านี้ประสบผลสำเร็จ จะขยายผลสู่เกษตรกรข้างเคียงได้เป็นอย่างดี อย่างเช่น คุณปรีชา วงค์พิมณ อายุ 42 ปี Young Smart Farmer จังหวัดหนองบัวลำภู อยู่บ้านเลขที่ 27 หมู่ที่ 4 บ้านหนองบัวคำแสน ตำบลด่านช้าง อำเภอนากลาง จังหวัดหนองบัวลำภู โทรศัพท์ 086-090-3818 คุณปรีชา ให้ข้อมูลว่า หลังจากจบการศึกษาระดับ ม.6 ได้เดินทางเข้ากรุงเทพฯ คือทำงานโรงงานผลิตทองคำ ได้เงินเดือน เดือนละ 6,000 บาท และยังมีค่าโอทีเดือนละประมาณ 4,000 บาท ทำงานอยู่ประมาณ 2 ปี ก็เลยมีแนวความคิดอยากจะกลับมาทำการเกษตรที่บ้านของตนเอง ในระยะแรกได้ทำนาและปลูกดาวเรือง แต่ในการทำการเกษตรนั้นยังมีความเสี่ยงต่อภัยแล้ง ดังนั้น จึงได้ขุดสระน้ำประจำไร่นา ต่อมามีการเจาะบ่อบาดาลเพื่ออาศัยน้ำมาทำการเกษตร ได้ทำการเกษตรในรูปแบบเกษตรผสมผสาน ปัจจุบัน ทำการเกษตรหลายอย่าง ได้แก่ ทำนา 8 ไร่ เพื่อบริโภคในครัวเรือน ที่เหลือขายเป็นรายได้ การทำสวนดาวเรือง ตัดดอกขายส่งให้พ่อค้าที่จังหวัดอุดรธานี เลย ตลาดไท มีรายได้ปีละร่วม 250,000 บาท ต่อปี
เห็ดฟาง ทำอะไรก็อร่อย มีขายอยู่ทั่วไป ราคาขึ้นลงตามฤดูกาล จริงๆ แล้ว เราสามารถเพาะเห็ดฟางไว้กินเองได้ ไม่ยากเลย แถมมีต้นทุนนิดเดียว มาดูกัน คุณวันชัย สวัสดิ์แดง รองนายก อบต. มหาสวัสดิ์ และวิทยากรทางด้านการเกษตรประจำหมู่บ้านศาลาดิน ต.มหาสวัสดิ์ อ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม เผยเทคนิคการเพาะเห็ดฟาง กับ“เส้นทางเศรษฐีออนไลน์” มาดังนี้ วัสดุอุปกรณ์ที่ต้องใช้ ฟางข้าว หรือ ผักตบชวาแห้ง 2. ขี้เลื่อยหรือวัสดุเพาะเห็ดชนิดอื่นๆ ที่ผ่านการเพาะมาแล้ว (วัสดุเหลือทิ้ง) หัวเชื้อเห็ดฟาง 4. ตะกร้าพลาสติก ขั้นตอนการทำ ขั้นแรก นำฟางไปแช่น้ำ 1 คืน แล้วผึ่งให้หมาดๆ ชื้นๆ อีกครึ่งวัน (ให้เหลือความชื้นราว 10 เปอร์เซ็นต์ ลองบีบดูแล้วไม่มีน้ำหยด) ถ้าใช้ผักตบชวา ก็ต้องเป็นผักตบชวาตากแห้ง นำมารดน้ำ จากนั้น นำฟางเรียงก้นตะกร้า (ปูพื้น) โรยด้วยขี้เลื่อย และตามด้วยหัวเชื้อเห็ดฟาง (ขี้เลื่อยและหัวเชื้อโรยขอบตะกร้า เพื่อให้ดอกเห็ดออกตามขอบตะกร้า เป็นชั้นๆ ขึ้นมา) ทำซ้ำกัน จนครบ 4 ชั้น เต็มตะร้า โดยชั้นสุดท้าย โรยขี้เลื่อยและหัวเชื้อเต็มพื้นที่ (เพื่อให้ดอกเห็ดออกด้านบนจนเต็ม) ขั้นสุดท้าย ครอบด้วยถุงพลาสติก (เห็ดต้องการความร้อ
ชาวบ้านพันดอน หมู่ที่ 9 ตำบลบ้านพร้าว อำเภอเมือง จังหวัดหนองบัวลำภู ส่วนใหญ่มีอาชีพรับจ้าง มีที่ดินเป็นของตนเองน้อย รายได้ไม่แน่นอน ขึ้นอยู่กับผู้จ้าง บางรายจึงเพาะเห็ดฟางแบบกองเตี้ย โดยใช้ที่ของเพื่อนบ้าน ย้ายที่เพาะไปเรื่อยๆ แต่เมื่อมีโครงการ 9101 ตามรอยเท้าพ่อ ภายใต้ร่มพระบารมี เพื่อการพัฒนาการเกษตรอย่างยั่งยืน โดยการเปิดโอกาสให้ชุมชนเสนอโครงการตามความต้องการ ทำให้ชาวบ้านพันดอนแห่งนี้ได้มีอาชีพที่มั่นคง ทำรายได้ในระดับน่าพอใจ คุณสมเดช ศิริวงศ์ (ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 9) โทร. (087) 214-6499 ประธานกลุ่มเพาะเห็ดฟางในโรงเรือนบ้านพันดอน เล่าให้ฟังว่า ชาวบ้านพันดอน มีพื้นที่ทำการเกษตรเป็นของตนเอง ประมาณ 35 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งประกอบอาชีพทำไร่อ้อยและนาข้าว อีกราว 65 เปอร์เซ็นต์ มีอาชีพรับจ้าง (ผู้สูงวัยเลี้ยงหลาน วัยแรงงานรับจ้างต่างจังหวัด บางส่วนรับจ้างในพื้นที่) ต่อมาเมื่อประมาณ 5 ปี ที่ผ่านมา ได้เริ่มนำเห็ดฟางแบบกองเตี้ยมาเพาะในหมู่บ้าน จึงมีชาวบ้านให้ความสนใจเพาะ เนื่องจากอายุสั้น ให้ผลผลิตเร็ว ประมาณ 2 สัปดาห์ ก็ทำเงินได้แล้ว แต่มีปัญหาคือ การเพาะเห็ดฟางแบบกองเตี้ย ต้องย้ายที่ใหม่ไปเรื่อยๆ
เห็ด ในโลกนี้มีจำนวนประมาณ 2,000 ชนิด ที่สามารถกินได้ และคนก็กินกันมาเป็นเวลาช้านานแล้ว เพราะเห็ดมีคุณค่าทางอาหารสูง เนื่องจากมีแคลอรีต่ำแต่มีคาร์โบไฮเดรต เส้นใยอาหาร วิตามิน แร่ธาตุและกรดอะมิโนที่จำเป็นต่อสุขภาพร่างกาย และเห็ดส่วนหนึ่งในจำนวนนี้ซึ่งไม่มากนักมีสารที่มีประโยชน์ในการป้องกันและรักษาโรคตามตำราการแพทย์แผนตะวันออก และมีการขนานนามเห็ดที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพเหล่านี้ว่า “เห็ดทางการแพทย์” ซึ่งเห็ดเหล่านี้มีสารอาหารที่สำคัญ เช่น เบต้ากลูแคน ไกลโคโปรตีน โพลีแซ็กคาไรด์ เป็นต้น สารเหล่านี้สามารถเพิ่มภูมิคุ้มกันของร่างกายในการต้านจุลชีพ เชื้อรา และปรับสมดุลความดันโลหิต ลดระดับคอเลสเตอรอลในกระแสเลือด ลดผลข้างเคียงของเคมีบำบัดและการฉายรังสี เมนูการใช้เห็ด 3 อย่าง ในการประกอบอาหาร จึงเป็นเมนูที่คนรักสุขภาพนิยมกินกันเป็นอย่างยิ่ง เห็ดฟาง เป็นเห็ดที่นิยมกินกันอยู่ในชีวิตประจำวันสำหรับบ้านเรา และมีให้กินกันทุกฤดูกาล ในฉบับนี้จะพาไปเรียนรู้เทคนิคการเพาะเห็ดนมสด ของคุณสุพจน์ เจริญผล อยู่บ้านโคกสง่า ตำบลหนองสาหร่าย อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา คุณสุพจน์ได้เรียนรู้เรื่องการเพาะเห็
ชาวบ้านพันดอน หมู่ที่ 9 ตำบลบ้านพร้าว อำเภอเมือง จังหวัดหนองบัวลำภู ส่วนใหญ่มีอาชีพรับจ้าง มีที่ดินเป็นของตนเองน้อย รายได้ไม่แน่นอน ขึ้นอยู่กับผู้จ้าง บางรายจึงเพาะเห็ดฟางแบบกองเตี้ย โดยใช้ที่ของเพื่อนบ้าน ย้ายที่เพาะไปเรื่อยๆ แต่เมื่อมีโครงการ 9101 ตามรอยเท้าพ่อ ภายใต้ร่มพระบารมี เพื่อการพัฒนาการเกษตรอย่างยั่งยืน โดยการเปิดโอกาสให้ชุมชนเสนอโครงการตามความต้องการ ทำให้ชาวบ้านพันดอนแห่งนี้ได้มีอาชีพที่มั่นคง ทำรายได้ในระดับน่าพอใจ แรงบันดาลใจ คุณสมเดช ศิริวงศ์ (ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 9) โทร. (087) 214-6499 ประธานกลุ่มเพาะเห็ดฟางในโรงเรือนบ้านพันดอน เล่าให้ฟังว่า ชาวบ้านพันดอน มีพื้นที่ทำการเกษตรเป็นของตนเอง ประมาณ 35 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งประกอบอาชีพทำไร่อ้อยและนาข้าว อีกราว 65 เปอร์เซ็นต์ มีอาชีพรับจ้าง (ผู้สูงวัยเลี้ยงหลาน วัยแรงงานรับจ้างต่างจังหวัด บางส่วนรับจ้างในพื้นที่) ต่อมาเมื่อประมาณ 5 ปี ที่ผ่านมา ได้เริ่มนำเห็ดฟางแบบกองเตี้ยมาเพาะในหมู่บ้าน จึงมีชาวบ้านให้ความสนใจเพาะ เนื่องจากอายุสั้น ให้ผลผลิตเร็ว ประมาณ 2 สัปดาห์ ก็ทำเงินได้แล้ว แต่มีปัญหาคือ การเพาะเห็ดฟางแบบกองเตี้ย ต้องย้ายที่ใ