นายการุณย์ มะโนใจ เกษตรอำเภอเชียงม่วน และ นางสาวชมพูนุช ชุมภูปฏิ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ รับผิดชอบงาน ศพก. เปิดการอบรมพัฒนาประธานเครือข่าย ศพก.อำเภอเชียงม่วน ภายใต้โครงการศูนย์เรียนรู้เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.) ณ ห้องประชุมสำนักงานเกษตรอำเภอเชียงม่วน จังหวัดพะเยา โดยการฝึกปฏิบัติการวิเคราะห์ดินเบื้องต้น เมื่อเร็วๆ นี้
MOST POPULAR
“กากน้ำตาล” เป็นส่วนหนึ่งที่เกษตรกรนิยมใช้ในการทำเกษตร เนื่องจากเป็นแหล่งพลังงานสำคัญสำหรับจุลินทรีย์ที่ช่วยปรับปรุงดินและเร่งการหมักปุ๋ย บางครั้งกากน้ำตาลแท้อาจมีราคาแพงหรือหาซื้อได้ยาก จึงมีการพัฒนาสูตรกากน้ำตาลเทียมขึ้นมาเพื่อใช้ทดแทน โดยใช้วัตถุดิบที่หาง่าย ในโลกการเกษตรที่ต้องการความรวดเร็วและประสิทธิภาพในการทำงาน บางครั้งเราต้องมองหาวิธีที่ช่วยลดต้นทุน แต่ได้ผลดีเหมือนกับปุ๋ยเคมีหรือสารเร่งโตจากภายนอก วันนี้เรามีเทคนิคดีๆ ที่สามารถทำเองได้ง่ายๆ นั่นคือ “การทำกากน้ำตาลเทียม” ซึ่งเป็นการใช้วัตถุดิบที่หาได้ง่ายในบ้าน ช่วยเร่งพืชโตไว เพิ่มผลผลิต และประหยัดอย่างแท้จริง สิ่งที่ต้องเตรียมสำหรับทำกากน้ำตาลเทียม น้ำตาลทราย (หรือน้ำตาลอ้อย) 1 กิโลกรัม ซีอิ๋วดำ 370 มิลลิลิตร น้ำเปล่า 6 ลิตร ถังพลาสติก หรือภาชนะหมัก ขนาดพอเหมาะ ทัพพี ขั้นตอนการทำกากน้ำตาลเทียม เตรียมส่วนผสม เริ่มจากการผสมน้ำตาลทราย (หรืออาจใช้น้ำตาลอ้อย) กับน้ำเปล่า 6 ลิตรในภาชนะแล้วคนให้เข้ากันจน ละลายดีแล้ว เติมซีอิ๋วดำ เทซีอิ๋วดำลงไป เพื่อเพิ่มสี เพิ่มกลิ่น เทหมดขวด เมื่อสุกแล้ว เอาหม้อลงมาวางให้เย็น และเทบรรจุลงในภาชนะที
Eden Agritech เป็นบริษัทที่มุ่งเน้นการพัฒนาโซลูชันเพื่อยืดอายุการเก็บรักษาผักและผลไม้สด โดยใช้สารที่ได้รับการรับรองจาก FDA ซึ่งปลอดภัยและมีประสิทธิภาพสูง เป้าหมายหลักของบริษัทคือการลดการสูญเสียอาหารในระดับโลก และช่วยให้ผู้บริโภคได้รับประทานผักและผลไม้ที่สดใหม่ยาวนานยิ่งขึ้น วงการเกษตรไทยต้องจับตามอง กับนวัตกรรมใหม่จากฝีมือคนไทย อย่าง “Naturen” ผลิตภัณฑ์เพื่อการยืดอายุผักผลไม้ โดยทีมสตาร์ทอัพชื่อ Eden Agritech เป็นนวัตกรรมที่มีสารเคลือบจากธรรมชาติที่ปลอดภัยและสามารถบริโภคได้ ผลิตจากวัตถุดิบเหลือใช้ทางการเกษตร เช่น เปลือกผลไม้ และ Plant-based Cellulose หรือเซลลูโลสจากพืช ซึ่งมีคุณสมบัติพิเศษในการช่วยยืดอายุผักผลไม้ได้นานขึ้นถึง 5 เท่า โดยไม่กระทบต่อคุณภาพหรือคุณค่าทางโภชนาการ Naturen คือผลิตภัณฑ์นวัตกรรมที่พัฒนาขึ้นมาเพื่อแก้ปัญหาสำคัญในวงการเกษตร โดยเฉพาะเรื่อง การยืดอายุและรักษาคุณภาพของผักผลไม้ หลักการทำงานของ Naturen มี 3 จุดเด่นสำคัญ ปัจจุบันมีการทดสอบใช้งานจริงในกลุ่มผู้ประกอบการ ทั้งรายเล็กและรายใหญ่ทั่วประเทศ ซึ่งได้รับผลตอบรับที่ดีมาก เก็บผลไม้ให้สดได้นาน ด้วย 2 วิธีง่ายๆ กับ Ed
ปฏิเสธไม่ได้ว่าปัจจุบันเทคโนโลยีและนวัตกรรมการเกษตรเข้ามามีบทบาท และเป็นตัวช่วยที่ดีให้กับชาวสวนได้เป็นอย่างดี ทั้งในแง่ของการลดต้นทุน เพิ่มผลผลิต ควบคุมคุณภาพ หรือแม้กระทั่งการพยากรณ์อากาศได้ล่วงหน้า เพื่อให้เกษตรกรได้เตรียมตัวรับมือได้อย่างทันท่วงที ซึ่งเมื่อเร็วๆ นี้ทางทีมงานเทคโนโลยีชาวบ้านได้ลงพื้นที่ไปที่จังหวัดจันทบุรี เดินทางไปที่สวนจันทร์เรือง ปลูกทุเรียน-มังคุดเป็นหลัก พื้นที่รวมกว่า 50 ไร่ และนอกจากนี้ ยังใช้พื้นที่ว่างภายในสวนเล็กๆ น้อยๆ ปลูกพืชผักอีกหลายชนิดสร้างรายได้เสริม โดยจุดประสงค์ที่พวกเราไปวันนั้นก็เพื่อถ่ายทำคลิปวิดีโอการเลี้ยงผำระบบปิดแนวตั้ง ซึ่งเมื่อคลิปวิดีโอได้เผยแพร่ออกไปก็ได้ยอดวิวกว่า 2.5 ล้านวิว เป็นที่มาของการคิดต่อยอดคอนเทนต์เรื่องของการใช้พลังงานทดแทนภายในสวนจันทร์เรืองมาฝากทุกคน เพื่อเป็นไอเดียการทำเกษตรแบบใหม่ หรือสมาร์ทฟาร์มเมอร์ คุณณัฐ-ณัฐวุฒิ จันทร์เรือง เจ้าของสวนจันทร์เรือง อดีตวิศวกรเคมี ผันตัวเป็นเกษตรกร ใช้วิชาความรู้จากที่ได้ศึกษาเล่าเรียน และทำงานประจำมากว่า 10 ปี มาพัฒนาสวนด้วยเทคโนโลยีนวัตกรรมการเกษตรหลากหลายรูปแบบด้วยกัน โดยหลักๆ ที่สวนม
หลายปีที่ผ่านมา คนรุ่นใหม่จำนวนมากเลือกเดินออกจากธุรกิจเกี่ยวข้องกับเกษตรกรรม เนื่องจากมองเป็นงานหนัก บางคนมองว่าไม่เท่ รวมถึงบางคนมองว่าเป็นงานยากในสถานการณ์ปัจจุบัน แต่สำหรับ นิ้ง-สิริยากร บัณฑิตป้ายแดง เจ้าของแบรนด์ทุเรียน “ลูกสาวกำนัน” จ.จันทบุรี เลือกยืนหยัดกลับมาสานต่อธุรกิจสวนทุเรียนของครอบครัว กลายเป็น New Gen ยุวเกษตรกร ที่มุ่งมั่นให้ธุรกิจเกษตรเติบโตอย่างมีนวัตกรรม นิ้งเล่าว่า เดิมเป็นเด็กที่ชื่นชอบงานด้านวิชาการ จุดเปลี่ยนสำคัญคือ ช่วง ม.6 คุณพ่อไปเห็นทุนการศึกษา ภายใต้บันทึกความเข้าใจ (MOU) ระหว่างกรมส่งเสริมการเกษตร และสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ (PIM) เพื่อเข้าศึกษาต่อคณะเกษตรนวัตและการจัดการ (IAM) คณะที่ช่วยให้เกษตรกรเป็นผู้ประกอบการมืออาชีพ สร้างรายได้สูง “ตอนแรกเคยตั้งคำถามว่า ถ้าเรียนด้านเกษตรกรรมเฉยๆ จะไหวหรือไม่ แต่ที่บ้านบอกเราชัดเจนว่า ไม่ได้อยากให้เรากลับมาเพื่อทำสวน แต่อยากให้มาช่วยสร้างมูลค่าเพิ่ม—” “—ทางคณะให้เราเรียนรู้ด้านเกษตรควบคู่กับธุรกิจ ไม่ใช่เรียนแค่ทฤษฎี แต่ให้เราได้เข้าสู่ภาคปฏิบัติจริงๆ ตลอด 4 ปี ทั้งการฝึกงานที่สวนทุเรียนในจังหวัดอื่น การฝึกงานเป็