เกษตรยั่งยืน
ปฏิเสธไม่ได้ว่าปัจจุบันเทคโนโลยีและนวัตกรรมการเกษตรเข้ามามีบทบาท และเป็นตัวช่วยที่ดีให้กับชาวสวนได้เป็นอย่างดี ทั้งในแง่ของการลดต้นทุน เพิ่มผลผลิต ควบคุมคุณภาพ หรือแม้กระทั่งการพยากรณ์อากาศได้ล่วงหน้า เพื่อให้เกษตรกรได้เตรียมตัวรับมือได้อย่างทันท่วงที ซึ่งเมื่อเร็วๆ นี้ทางทีมงานเทคโนโลยีชาวบ้านได้ลงพื้นที่ไปที่จังหวัดจันทบุรี เดินทางไปที่สวนจันทร์เรือง ปลูกทุเรียน-มังคุดเป็นหลัก พื้นที่รวมกว่า 50 ไร่ และนอกจากนี้ ยังใช้พื้นที่ว่างภายในสวนเล็กๆ น้อยๆ ปลูกพืชผักอีกหลายชนิดสร้างรายได้เสริม โดยจุดประสงค์ที่พวกเราไปวันนั้นก็เพื่อถ่ายทำคลิปวิดีโอการเลี้ยงผำระบบปิดแนวตั้ง ซึ่งเมื่อคลิปวิดีโอได้เผยแพร่ออกไปก็ได้ยอดวิวกว่า 2.5 ล้านวิว เป็นที่มาของการคิดต่อยอดคอนเทนต์เรื่องของการใช้พลังงานทดแทนภายในสวนจันทร์เรืองมาฝากทุกคน เพื่อเป็นไอเดียการทำเกษตรแบบใหม่ หรือสมาร์ทฟาร์มเมอร์ คุณณัฐ-ณัฐวุฒิ จันทร์เรือง เจ้าของสวนจันทร์เรือง อดีตวิศวกรเคมี ผันตัวเป็นเกษตรกร ใช้วิชาความรู้จากที่ได้ศึกษาเล่าเรียน และทำงานประจำมากว่า 10 ปี มาพัฒนาสวนด้วยเทคโนโลยีนวัตกรรมการเกษตรหลากหลายรูปแบบด้วยกัน โดยหลักๆ ที่สวนม
ในยุคที่ใครหลายคนกำลังมองหาเส้นทางชีวิตใหม่ โดยเฉพาะการที่ต้องกลับมาอยู่บ้านเกิด การมีเส้นทางอาชีพส่วนใหญ่การทำเกษตร จึงเป็นอีกหนึ่งการเปลี่ยนแปลงที่หลายๆ คนเลือกที่จะลงมือทำ ซึ่ง คุณเอก-เป็นเอก ปาคำ ชายหนุ่มที่ทิ้งงานบริการและตัดสินใจครั้งสำคัญในชีวิต ด้วยการโบกมือลางานประจำจากเมืองใหญ่ เพื่อกลับมาอยู่ที่จังหวัดขอนแก่น เริ่มต้นชีวิตเกษตรกรเต็มตัวกับพื้นที่เพียง 1 ไร่ แต่สามารถปั้นพื้นที่แห่งนี้จนกลายเป็นแหล่งปลูกผักกูดคุณภาพ ส่งขายทั้งยอดสดและกิ่งพันธุ์ผ่านตลาดออนไลน์ จากสถานการณ์โควิด-19 ทำให้เห็นความสำคัญของเกษตร คุณเอก เล่าให้ฟังว่า สมัยก่อนเป็นพนักงานขับรถส่งผู้โดยสารทั่วไปอยู่ที่จังหวัดเชียงใหม่ หลังสถานการณ์โควิดระบาด จึงได้กลับมาอยู่ที่บ้านเกิดจังหวัดแพร่ และได้รับจ้างกรีดยางในสวนของพี่สาว พร้อมทั้งได้ทดลองปลูกกล้วยเพื่อจำหน่ายหน่อพันธุ์ ในระหว่างนั้นเห็นช่องว่างในพื้นที่ดงกล้วยว่าสามารถปลูกพืชแซมได้ จึงได้ตัดสินใจนำผักกูดเข้ามาทดลองปลูกจนประสบผลสำเร็จ ต่อมาได้ย้ายมาอยู่ที่จังหวัดขอนแก่น จึงได้นำองค์ความรู้ที่ได้มาปรับใช้ในพื้นที่ 1 ไร่ จนประสบผลสำเร็จเป็นอาชีพมาจนถึงปัจจุบัน “
ปฏิเสธไม่ได้ว่าปัจจุบันเทคโนโลยีและนวัตกรรมการเกษตรเข้ามามีบทบาท และเป็นตัวช่วยที่ดีให้กับชาวสวนได้เป็นอย่างดี ทั้งในแง่ของการลดต้นทุน เพิ่มผลผลิต ควบคุมคุณภาพ หรือแม้กระทั่งการพยากรณ์อากาศได้ล่วงหน้า เพื่อให้เกษตรกรได้เตรียมตัวรับมือได้อย่างทันท่วงที ซึ่งเมื่อเร็วๆ นี้ทางทีมงานเทคโนโลยีชาวบ้านได้ลงพื้นที่ไปที่จังหวัดจันทบุรี เดินทางไปที่สวนจันทร์เรือง ปลูกทุเรียน-มังคุดเป็นหลัก พื้นที่รวมกว่า 50 ไร่ และนอกจากนี้ ยังใช้พื้นที่ว่างภายในสวนเล็กๆ น้อยๆ ปลูกพืชผักอีกหลายชนิดสร้างรายได้เสริม โดยจุดประสงค์ที่พวกเราไปวันนั้นก็เพื่อถ่ายทำคลิปวิดีโอการเลี้ยงผำระบบปิดแนวตั้ง ซึ่งเมื่อคลิปวิดีโอได้เผยแพร่ออกไปก็ได้ยอดวิวกว่า 2.5 ล้านวิว เป็นที่มาของการคิดต่อยอดคอนเทนต์เรื่องของการใช้พลังงานทดแทนภายในสวนจันทร์เรืองมาฝากทุกคน เพื่อเป็นไอเดียการทำเกษตรแบบใหม่ หรือสมาร์ทฟาร์มเมอร์ คุณณัฐ-ณัฐวุฒิ จันทร์เรือง เจ้าของสวนจันทร์เรือง อดีตวิศวกรเคมี ผันตัวเป็นเกษตรกร ใช้วิชาความรู้จากที่ได้ศึกษาเล่าเรียน และทำงานประจำมากว่า 10 ปี มาพัฒนาสวนด้วยเทคโนโลยีนวัตกรรมการเกษตรหลากหลายรูปแบบด้วยกัน โดยหลักๆ ที่สวนม
ในยุคที่ใครหลายคนกำลังมองหาเส้นทางชีวิตใหม่ โดยเฉพาะการที่ต้องกลับมาอยู่บ้านเกิด การมีเส้นทางอาชีพส่วนใหญ่การทำเกษตร จึงเป็นอีกหนึ่งการเปลี่ยนแปลงที่หลายๆ คนเลือกที่จะลงมือทำ ซึ่ง คุณเอก-เป็นเอก ปาคำ ชายหนุ่มที่ทิ้งงานบริการและตัดสินใจครั้งสำคัญในชีวิต ด้วยการโบกมือลางานประจำจากเมืองใหญ่ เพื่อกลับมาอยู่ที่จังหวัดขอนแก่น เริ่มต้นชีวิตเกษตรกรเต็มตัวกับพื้นที่เพียง 1 ไร่ แต่สามารถปั้นพื้นที่แห่งนี้จนกลายเป็นแหล่งปลูกผักกูดคุณภาพ ส่งขายทั้งยอดสดและกิ่งพันธุ์ผ่านตลาดออนไลน์ จากสถานการณ์โควิด-19 ทำให้เห็นความสำคัญของเกษตร คุณเอก เล่าให้ฟังว่า สมัยก่อนเป็นพนักงานขับรถส่งผู้โดยสารทั่วไปอยู่ที่จังหวัดเชียงใหม่ หลังสถานการณ์โควิดระบาด จึงได้กลับมาอยู่ที่บ้านเกิดจังหวัดแพร่ และได้รับจ้างกรีดยางในสวนของพี่สาว พร้อมทั้งได้ทดลองปลูกกล้วยเพื่อจำหน่ายหน่อพันธุ์ ในระหว่างนั้นเห็นช่องว่างในพื้นที่ดงกล้วยว่าสามารถปลูกพืชแซมได้ จึงได้ตัดสินใจนำผักกูดเข้ามาทดลองปลูกจนประสบผลสำเร็จ ต่อมาได้ย้ายมาอยู่ที่จังหวัดขอนแก่น จึงได้นำองค์ความรู้ที่ได้มาปรับใช้ในพื้นที่ 1 ไร่ จนประสบผลสำเร็จเป็นอาชีพมาจนถึงปัจจุบัน “